520 likes | 713 Views
สัมมนาอธิบายการกรอกรายงานสำหรับการทดสอบคู่ขนานการดำรงเงินกองทุนตามระดับความเสี่ยงครั้งที่ 2 บริษัทประกันชีวิต. สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย วันที่ 2 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2554. Agenda. สรุปการเปลี่ยนแปลง Template แบบรายงานรายเดือน Policy loan การส่งรายงาน
E N D
สัมมนาอธิบายการกรอกรายงานสำหรับการทดสอบคู่ขนานการดำรงเงินกองทุนตามระดับความเสี่ยงครั้งที่ 2บริษัทประกันชีวิต สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย วันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2554
Agenda • สรุปการเปลี่ยนแปลง Template • แบบรายงานรายเดือน • Policy loan • การส่งรายงาน • ประเด็นชี้แจงเพิ่มเติมอื่น • ประเด็นถามตอบ
สรุปการเปลี่ยนแปลง Template
สรุปการเปลี่ยนแปลงtemplateสรุปการเปลี่ยนแปลงtemplate
สรุปการเปลี่ยนแปลงtemplateสรุปการเปลี่ยนแปลงtemplate
สรุปการเปลี่ยนแปลงtemplateสรุปการเปลี่ยนแปลงtemplate • แบบฟอร์มที่ 1 : การคำนวณอัตราส่วน CAR • เดิม: ให้แสดง CAR ตามกฎเกณฑ์ปัจจุบันของปีที่แล้ว • ใหม่: ไม่ต้องแสดง CAR ของปีที่แล้ว (แต่ในรายงาน RBC ตามกฎหมายให้แสดง CAR ของ 3 ไตรมาสล่าสุด)
สรุปการเปลี่ยนแปลงtemplateสรุปการเปลี่ยนแปลงtemplate • แบบฟอร์มที่ 3 : งบแสดงฐานะการเงิน • เดิม: - กรอกมูลค่าตามงบการเงิน และมูลค่าปรับปรุงให้ได้ราคาตลาด • ใหม่: - กรอกมูลค่าตามงบการเงิน และราคาตลาด • - แก้การลิ้งค์มูลค่าสำรอง PL
สรุปการเปลี่ยนแปลงtemplateสรุปการเปลี่ยนแปลงtemplate • แบบฟอร์มที่ 4 : การคำนวณ Insurance Risk • เปลี่ยนรูปแบบตารางให้เหมือนกับ actuarial report • แก้การลิ้งค์ชื่อบริษัทและวันที่ทำการประเมิน • แก้สูตรคำนวณ short term
สรุปการเปลี่ยนแปลงtemplateสรุปการเปลี่ยนแปลงtemplate • แบบฟอร์มที่ 5: การคำนวณ Market Risk • เดิม: ความเสี่ยงจากการลงทุนในตราสารทุน รวมตราสารทุนจดทะเบียนในตลาดทั้งในและนอกไว้ด้วยกัน • ใหม่: ความเสี่ยงจากการลงทุนในตราสารทุน แยกมูลค่าระหว่างตราสารทุนใน SET, MAI กับตราสารทุนที่จดทะเบียนในต่างประเทศ
สรุปการเปลี่ยนแปลงtemplateสรุปการเปลี่ยนแปลงtemplate • แบบฟอร์มที่ 5 : การคำนวณ Market Risk (ต่อ) • เดิม: มีตารางสรุปค่าความเสี่ยงจาก ALM (ประกันชีวิต) • ใหม่: ยกเลิกตารางดังกล่าว เนื่องจากซ้ำกับตารางในฟอร์ม 6
สรุปการเปลี่ยนแปลงtemplateสรุปการเปลี่ยนแปลงtemplate • แบบฟอร์มที่ 5 : การคำนวณ Market Risk (ต่อ) • เดิม: หน่วยลงทุน แยกประเภทย่อยเป็น 4 ประเภท • ใหม่: หน่วยลงทุน แยกประเภทย่อยเป็น 7 ประเภท โดยเพิ่ม สินค้าโภคภัณฑ์ อัตราแลกเปลี่ยน และเงินฝาก
สรุปการเปลี่ยนแปลงtemplateสรุปการเปลี่ยนแปลงtemplate • แบบฟอร์มที่ 5 : การคำนวณ Market Risk (ต่อ) • เดิม: ไม่รวมหน่วยลงทุนในตารางการกระจายความเสี่ยง • ใหม่:เพิ่มหน่วยลงทุนในตารางการกระจายความเสี่ยง โดยมีค่าสหสัมพันธ์กับสินทรัพย์ลงทุนประเภทอื่นเป็น 100%
สรุปการเปลี่ยนแปลงtemplateสรุปการเปลี่ยนแปลงtemplate • แบบฟอร์มที่ 5 : การคำนวณ Market Risk (ต่อ) • แก้สูตรคำนวณ เงินกองทุนจากการลงทุนในหน่วยลงทุน
สรุปการเปลี่ยนแปลงtemplateสรุปการเปลี่ยนแปลงtemplate • แบบฟอร์มที่ 6 : การคำนวณความเสี่ยงด้านตลาดจากอัตราดอกเบี้ย (ALM mismatching risk) • เปลี่ยนอัตรา shock up rate และ shock down rate
สรุปการเปลี่ยนแปลงtemplateสรุปการเปลี่ยนแปลงtemplate • แบบฟอร์มที่ 7: การคำนวณ Credit Risk • เดิม: การลงทุนในตราสารหนี้ ใช้คำว่า“วิสาหกิจที่ คปภ. กำหนด” • ใหม่: “บริษัท และ อื่นๆ”
สรุปการเปลี่ยนแปลงtemplateสรุปการเปลี่ยนแปลงtemplate • แบบฟอร์มที่ 7 : การคำนวณ Credit Risk (ต่อ) • เดิม: รวมความเสี่ยงจากการให้ยืม (leasing, hire purchase, policy loan) ไว้ในตารางเดียวกับออกจากตารางความเสี่ยงจากการลงทุนในตราสารหนี้ • ใหม่: แยกรายการดังกล่าวออกจากตารางความเสี่ยงจากการลงทุนในตราสารหนี้
สรุปการเปลี่ยนแปลงtemplateสรุปการเปลี่ยนแปลงtemplate • แบบฟอร์มที่ 8: การคำนวณ Credit Risk and Concentration Risk of Reinsurance • แยกตารางระหว่างผู้รับประกันภัยต่อในประเทศกับต่างประเทศ • ปลดล็อค cell ที่ให้กรอกชื่อผู้รับประกันภัยต่อ • แก้ drop down risk charge ประกันภัยต่อ
การประมาณการ CAR รายเดือน
วัฒถุประสงค์ของการประมาณCAR รายเดือน • เพื่อติดตามความเคลื่อนไหวของ CAR และประมาณการผลกระทบจากเบี้ยประกันภัยที่เข้ามาใหม่ (New Business) ในเดือนที่ไม่มีการทำการประเมินสินทรัพย์และหนี้สินแบบเต็มรูปแบบ • อาศัยข้อมูลจากรายงานเงินกองทุนไตรมาสล่าสุดก่อนหน้าเป็นฐานในการประมาณ CAR รายเดือน
ข้อมูลจากรายงานการดำรงเงินกองทุนประจำปี/รายไตรมาสข้อมูลจากรายงานการดำรงเงินกองทุนประจำปี/รายไตรมาส ในตารางที่ 1 ได้แก่ มูลค่าเงินกองทุนชั้นที่ 1, เงินกองทุนชั้นที่ 2, รายการหักจากเงินกองทุน, เงินกองทุนสำหรับความเสี่ยงแต่ละด้าน
ข้อมูลจากรายงานการดำรงเงินกองทุนประจำปี/รายไตรมาสข้อมูลจากรายงานการดำรงเงินกองทุนประจำปี/รายไตรมาส ในตารางที่ 2 ได้แก่ มูลค่าของสินทรัพย์ และมูลค่าของหนี้สิน
ข้อมูลจากรายงานการเงินข้อมูลจากรายงานการเงิน ข้อมูลเบี้ยประกันภัยรับสุทธิสะสมในตารางที่ 3
ข้อมูลจากรายงานการเงินข้อมูลจากรายงานการเงิน ข้อมูลอัตราดอกเบี้ยและกระแสเงินสดในตารางที่ 4
การประมาณCAR รายเดือน TCA + C* CAR* = • Monthly CAR TCR* C* = [A* x (Asset)] – [L* x (Liability)] TCR* = TCR + {P* x [(L* + 1) x Insurance RCC]} + [A* x (TCR – Insurance RCC)] Net Premium rolling 12 months (Current month) P* = - 1 Net Premium rolling 12 months (Previous calculated RBC) A* = %change in asset L* = %change in liability
ตัวอย่างการคำนวณ บริษัทประกันชีวิต A ทำการประมาณการ RBC* ในเดือนพฤษภาคม 2554 ดังนั้น บริษัท A ต้องใช้ข้อมูลจากรายงานเงินกองทุนของเดือนมีนาคม 2554 โดยจากรายงาน บริษัท A มีข้อมูลดังนี้ • เงินกองทุนชั้นที่ 1 = 100,000,000 บาท • เงินกองทุนชั้นที่ 2 = 0 บาท • รายการหักจากเงินกองทุน = 0 บาท • ดังนั้น บริษัท A มีเงินกองทุนที่สามารถนำมาใช้ได้ทั้งหมด = 100,000,000 + 0 - 0 = 100,000,000 บาท • เงินกองทุนสำหรับความเสี่ยงด้านการประกันภัย = 20,000,000 บาท • เงินกองทุนสำหรับความเสี่ยงด้านตลาด = 30,000,000 บาท • เงินกองทุนสำหรับความเสี่ยงด้านเครดิต = 5,000,000 บาท • เงินกองทุนสำหรับความเสี่ยงด้านการกระจุกตัว = 0 บาท • ดังนั้น บริษัท A มีเงินกองทุนที่ต้องดำรงทั้งหมด = 20,000,000 + 30,000,000 + 5,000,000 + 0 = 55,000,000 บาท • บริษัท A มีอัตราส่วนความเพียงพอของเงินกองทุน = 100,000,000 / 55,000,000 = 182% • โดยบริษัท A มีมูลค่าของสินทรัพย์รวม = 250,000,000 บาท และมีมูลค่าของหนี้สินรวม = 150,000,000 บาท
ตัวอย่างการคำนวณ บริษัท A มีข้อมูลเบี้ยประกันภัยรับสุทธิดังนี้ • เบี้ยประกันภัยรับสุทธิในรอบปี 2553 = 100,000,000 บาท • เบี้ยประกันภัยรับสุทธิในรอบเดือนมกราคม - พฤษภาคม 2553 = 45,000,000 บาท • เบี้ยประกันภัยรับสุทธิในรอบเดือนมกราคม - พฤษภาคม 2554 = 50,000,000 บาท • เบี้ยประกันภัยรับสุทธิในรอบเดือนมกราคม - มีนาคม 2553 = 30,000,000 บาท • เบี้ยประกันภัยรับสุทธิในรอบเดือนมกราคม - มีนาคม 2554 = 32,000,000 บาท
ตัวอย่างการคำนวณ สมมติให้บริษัท A มีกระแสเงินสดดังนี้ ดังนั้น A* -0.005 L* -0.005
ตัวอย่างการคำนวณ • บริษัท A มีมูลค่า Net Premium rolling 12 months (current month) = 100,000,000 - 45,000,000 + 50,000,000 = 105,000,000 บาท และมีมูลค่า Net Premium rolling 12 months (previous calculated RBC) = 100,000,000 - 30,000,000 + 32,000,000 = 102,000,000 บาท ดังนั้น P* = (105,000,000 / 102,000,000) - 1 = 0.029 • C* = [A* x 250,000,000] - [L* x 150,000,000] = -449,193.41 บาท • TCA* = 100,000,000 - 449,193.41 = 99,550,807 บาท • TCR* = 55,000,000 + {0.029 x [(L*+1) x 20,000,000]} + [A* x (55,000,000 - 20,000,000)] = 55,422,394 บาท • CAR* = 99,550,807 / 55,422,394 = 180%
PolicyLoan • สมมติฐานสำหรับวิธีมาตรฐานของสำนักงานคปภ. ประกอบด้วย • จำนวนเงินตั้งต้น (Initial Balance)เท่ากับ ยอดคงเหลือของเงินให้กู้ยืมรวมกับดอกเบี้ยค้างรับจากเงินให้กู้ยืมดังกล่าว • อัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืม เท่ากับ อัตราดอกเบี้ยทบต้นร้อยละ 7 ต่อปี • ระยะเวลาในการใช้คืนเงินกู้ยืมทั้งหมด เท่ากับ 3 ปี • กำหนดการคืนเงินให้กู้ยืมพร้อมดอกเบี้ยค้างชำระ • ภายในปีที่ 1 คืนเงิน ร้อยละ 50 ของจำนวนเงินตั้งต้น • ภายในปีที่ 2 คืนเงิน ร้อยละ 50 ของจำนวนเงิน ณ สิ้นปีที่ 1 • ภายในปีที่ 3 คืนเงิน ร้อยละ 100 ของจำนวนเงิน ณ สิ้นปีที่ 2 • อัตราคิดลดในการคำนวณมูลค่ากระแสเงินสด เท่ากับ อัตราดอกเบี้ยของพันธบัตรรัฐบาลไทยที่ไม่มีดอกเบี้ย (Zero Coupon Yield) ซึ่งเป็นอัตราที่กำหนดไว้ ณ วันที่ทำการประเมิน โดยให้ใช้อัตราในช่วงระยะเวลาเดียวกับระยะเวลาคงเหลือของเงินให้กู้ยืม
PolicyLoan • สูตรการคำนวณวิธีมาตรฐานของสำนักงานคปภ. PV = EB1 + EB2 + EB3 (1+Y1)1 (1+Y2)2 (1+Y3)3 PV = มูลค่ายุติธรรมของเงินให้กู้ยืมโดยมีกรมธรรมประกันภัยเป็นประกัน • Y n = อัตราดอกเบี้ยของพันธบัตรรัฐบาลไทยที่ไม่มีดอกเบี้ย ปีที่ n • EB1= IB x 1.07 x 50% • EB2= EB1 x 1.07 x 50% • EB3= EB2 x 1.07 x 100% • IB = จำนวนเงินตั้งต้น (Initial Balance : IB)
PolicyLoan (Example) • บริษัท ก มีเงินยอดคงเหลือของเงินให้กู้ยืมโดยมีกรมธรรม์ 1000 บาท และมีดอกเบี้ยค้างรับจากเงินให้กู้ยืมดังกล่าว 100 บาทและอัตราดอกเบี้ยของพันธบัตรรัฐบาลไทยที่ไม่มีดอกเบี้ยปีที่ 1-3 เท่ากับ 2% 2% 3% ตามลำดับ
การส่งรายงานการทดสอบ RBC ครั้งที่ 2(Parallel test run #2): • กำหนดส่งภายในวันที่ 1 กรกฎาคม 2554 • รูปแบบรายงานการทดสอบ • Hard copy >>>> สำนักงาน คปภ. • Soft copy >>>> email : rbc.oic.or.th • ข้อมูลที่ใช้ในการทดสอบ จากงบการเงินประจำปีที่รับรองโดยผู้สอบบัญชีรับอนุญาตของสิ้นปี 2553
ระยะเวลาที่กำหนดให้ส่งรายงานระยะเวลาที่กำหนดให้ส่งรายงาน ประเภทรายงาน ส่งรายงาน อนุโลมให้ครั้งแรก ประจำปี ภายใน 4 เดือน - ประจำไตรมาส ภายใน 45 วัน ภายใน 60 วัน ประจำเดือน ภายใน 30 วัน ภายใน 45 วัน
Key date • 1 ก.ย.54 การกำกับตามระดับความเสี่ยงมีผลบังคับใช้ • 30 พ.ย.54 สิ้นสุดกำหนดส่งรายงาน RBC รายไตรมาส ครั้งแรก (ข้อมูล ณ สิ้น 30 ก.ย.54) ให้เวลา 60 วัน • 15 ธ.ค.54 สิ้นสุดกำหนดส่งรายงาน RBC รายเดือน ครั้งแรก (ข้อมูล ณ สิ้น 31 ต.ค.54) ให้เวลา 45 วัน • 30 ธ.ค.54 สิ้นสุดกำหนดส่งรายงาน RBC รายเดือน ครั้งที่สอง (ข้อมูล ณ สิ้น 30 พ.ย.54) ให้เวลา 30 วัน • 30 เม.ย.55 สิ้นสุดกำหนดส่งรายงาน RBC รายปี ครั้งแรก (ข้อมูล ณ สิ้น 31 ธ.ค.54) ให้เวลา 4 เดือน
ประเด็นชี้แจงเพิ่มเติมประเด็นชี้แจงเพิ่มเติม
ประเด็นชี้แจงเพิ่มเติมประเด็นชี้แจงเพิ่มเติม • สินทรัพย์ที่มีอยู่หรือได้มาโดยไม่เป็นไปตามข้อกำหนด (ยกเว้นอสังหาริมทรัพย์) หากสำนักงานคปภ.ตรวจพบในภายหลังบริษัทต้อง ดำรงเพิ่มเติมสำหรับสินทรัพย์ประเภทนี้ โดยมีค่าความเสี่ยงเท่ากับร้อยละ 100
ประเด็นชี้แจงเพิ่มเติมประเด็นชี้แจงเพิ่มเติม • หากมูลค่าตลาดของสินทรัพย์ที่บริษัทคาดว่าจะไปก่อภาระผูกพันสูงขึ้นกว่าราคาตามวงเงินที่เคยขอไว้กับ OIC บริษัทจะต้องบันทึกรายการดังกล่าวในรายงาน RBC อย่างไร คำตอบ สมมติว่าพันธบัตร ก. มีราคาตลาดเท่ากับ 42 ล้านบาท ก่อนหน้านี้บริษัทมีการขออนุญาตนายทะเบียนในการนำพันธบัตรดังกล่าวไปติดภาระผูกพันในวงเงิน 40 ล้านบาท แต่ปัจจุบันยอดที่ติดภาระผูกพันจริงเพียง 20 ล้านบาท ดังนั้นในกรอก Template บริษัทจะต้องบันทึกยอด 20 ล้านบาทในรายการสินทรัพย์ที่ติดภาระผูกพัน และ บันทึกมูลค่าที่เหลืออีก 22 ล้านบาท (42-20) ไว้ในรายการพันธบัตรตามหน้างบแสดงฐานะการเงินในรายงานเงินกองทุน
ประเด็นชี้แจงเพิ่มเติมประเด็นชี้แจงเพิ่มเติม • คำว่าเบี้ยประกันภัยค้างชำระเกินกว่า 60 วันนับแต่วันครบกำหนดชำระตามสัญญา หมายความว่าอย่างไร • คำตอบ ยกตัวอย่างเช่น วันครบกำหนดชำระตามสัญญาคือ 30 วันนับแต่วันเริ่มคุ้มครอง ดังนั้น ในกรณีนี้ หมายถึง เบี้ยค้างชำระเกิน 90 วัน(30+60)นับแต่วันเริ่มความคุ้มครอง
ประเด็นชี้แจงเพิ่มเติมประเด็นชี้แจงเพิ่มเติม • การประเมินสำรองประกันภัย สำหรับสัญญาระยะยาวกรณีการประกันกลุ่ม ได้รวมถึงประกันประเภท mortgage และ endowmentด้วยหรือไม่ • คำตอบ ตามเจตนาของประกาศประเมิน กรณีประกันภัยกลุ่มไม่ว่าจะเป็นการประกันรูปแบบใดให้ใช้วิธีการตามที่กำหนดไว้สำหรับกลุ่มB.E.GPV*1.09 ยกเว้นหากงานกลุ่มบางประเภท เช่น Group Mortgage บริษัทสามารถคำนวณแยกรายกธ.ได้ก็ให้คำนวณ GPV รายกธ.ปกติ
ประเด็นชี้แจงเพิ่มเติมประเด็นชี้แจงเพิ่มเติม • ตั๋วแลกเงินที่ออกโดยบริษัทจำกัดแต่อาวัลโดยธนาคารจะให้นับเป็นบริษัทเอกชน หรือ ธนาคาร • คำตอบอนุญาตให้ใช้อันดับความน่าเชื่อถือของธนาคารเฉพาะส่วนที่ได้รับการอาวัล ส่วนเหลือยังคงให้ใช้อันดับความน่าเชื่อถือของผู้ออกตราสารหนี้
ประเด็นชี้แจงเพิ่มเติมประเด็นชี้แจงเพิ่มเติม • ตั๋ว B/E ที่อายุไม่เกิน 1 ปี จะใช้ราคาอะไรประเมิน • คำตอบสามารถประเมินด้วยราคาทุนโดยอนุโลม ตามประกาศประเมิน ข้อ6 (4)
ประเด็นชี้แจงเพิ่มเติมประเด็นชี้แจงเพิ่มเติม • กรณีที่บริษัทลงทุนในตราสารหนี้ที่มีการจ่ายอัตราดอกเบี้ยที่ไม่คงที่ เช่น Structure Note Inflation Link Bond กระแสเงินสดที่ใช้ในการคำนวณ Interest Rate Mismatching ควรกำหนดอย่างไร คำตอบกระแสเงินสดที่ใช้ในการคำนวณ Interest Rate Mismatching Risk จะต้องเป็น No arbitrage cash flow กล่าวคือกระแสเงินสดที่บริษัทคาดว่าจะได้รับในอนาคตซึ่งมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดดังกล่าวจะต้องเท่ากับราคาของตราสารที่บริษัทซื้อมาจากธนาคาร หรือบ.ผู้ออกตราสาร
ประเด็นชี้แจงเพิ่มเติมประเด็นชี้แจงเพิ่มเติม • ถ้าบริษัทผู้รับประกันภัยต่อในประเทศไม่มีค่า CAR ไตรมาสล่าสุดเปิดเผยไว้ บริษัทควรใช้ค่า Risk Charge เท่าไหร่ในการคำนวณค่า Credit Risk Charge คำตอบกรณีที่บริษัทรับประกันภัยต่อไม่มี CAR เปิดเผยไว้กำหนดให้ใช้ค่าความเสี่ยงเท่ากับ 8% ในการคำนวณค่า Credit Risk Charge
ประเด็นชี้แจงเพิ่มเติมประเด็นชี้แจงเพิ่มเติม • รายงาน Actuarial report ให้ส่งปีละครั้งใช่หรือไม่ คำตอบใช่ การส่งรายงาน Actuarial report จะกระทำปีละครั้งเท่านั้นตามประกาศว่าด้วยเรื่องรายงานประจำปีการคำนวณความรับผิดตามกรมธรรม์ประกันภัย และให้ส่งภายใน 4 เดือน
Help desk • บริษัทสามารถส่งคำถามและขอแนะนำเพื่อการปรับปรุงได้ที่ rbc@oic.or.th • สำนักงาน คปภ. จะเผยแพร่คำตอบสำหรับประเด็นคำถามในการทำการทดสอบคู่ขนานไว้ที่ web board ของ Parallel Test Run ใน website ของสำนักงาน คปภ. http://www.oic.or.th