1 / 23

ผลกระทบจากการปรับอัตราค่าบริการสาธารณสุขกรมบัญชีกลาง (วันที่ 1 ธันวาคม 2549)

ผลกระทบจากการปรับอัตราค่าบริการสาธารณสุขกรมบัญชีกลาง (วันที่ 1 ธันวาคม 2549). ผศ.นพ.สรวุฒิ ชูอ่องสกุล ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายงานคลัง คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. งบประมาณค่ารักษาพยาบาล กรมบัญชีกลาง. ล้านบาท. งบประมาณค่ารักษาพยาบาล กรมบัญชีกลาง. ล้านบาท. สวัสดิการข้าราชการ กรมบัญชีกลาง.

Download Presentation

ผลกระทบจากการปรับอัตราค่าบริการสาธารณสุขกรมบัญชีกลาง (วันที่ 1 ธันวาคม 2549)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผลกระทบจากการปรับอัตราค่าบริการสาธารณสุขกรมบัญชีกลาง(วันที่ 1 ธันวาคม 2549) ผศ.นพ.สรวุฒิ ชูอ่องสกุล ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายงานคลัง คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

  2. งบประมาณค่ารักษาพยาบาล กรมบัญชีกลาง ล้านบาท

  3. งบประมาณค่ารักษาพยาบาล กรมบัญชีกลาง ล้านบาท

  4. สวัสดิการข้าราชการ กรมบัญชีกลาง • ผู้มีสิทธิ: ข้าราชการ ครอบครัว ข้าราชการบำนาญ 6.1 ล้านคน • งบประมาณค่ารักษาพยาบาล ปี 2549: 37,000 ล้านบาท • เฉลี่ย 6,065 บาทต่อคน สำนักงบประมาณ ตั้งงบค่ารักษาพยาบาล ปี 2550: 30,000 ล้านบาท รายจ่ายจริง ไตรมาสแรก ปี 2550: 15,000 ล้านบาท

  5. สวัสดิการข้าราชการ กรมบัญชีกลาง การควบคุมค่าใช้จ่าย • แนวทางการควบคุมค่าใช้จ่าย • Demand • เปิดลงทะเบียนการเบิกจ่ายตรง สำหรับผู้มีสิทธิ • ลดสิทธิประโยชน์ การรักษาพยาบาล • - รายการอวัยวะเทียม และอุปกรณ์ (ว. 77) • - จำกัดจำนวนวันนอนโรงพยาบาล • - บัญชียาแห่งชาติ • มีส่วนร่วมจ่าย (ส่วนเกินสิทธิ) • Supply • ราคากลาง ค่าบริการการรักษาพยาบาล • เปลี่ยนระบบการเบิกจ่ายในระบบ Fee for service เป็น DRG

  6. อัตราค่าบริการสวัสดิการข้าราชการ 1 ธค. 2549หมวดที่ 3 ค่ายา และสารอาหารทางเส้นเลือด ค่ายาที่เบิกได้ 1. ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ 2. ยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติ ซึ่งประกอบด้วย • คณะกรรมการที่ผอ.สถานพยาบาลแต่งตั้ง เป็นผู้วินิจฉัย และออกหนังสือรับรองให้ ตามประกาศ กค 0526.5/ว66 30สค. 2542 และ กค0526.5/ว65 ทั้งนี้ ให้ระบุเหตุผลที่ไม่สามารถใช้ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติได้ • ยาที่มีการขึ้นทะเบียนกับอย. เพื่อจำหน่ายในประเทศไทย • การใช้ยา ต้องเป็นไปตามข้อบ่งชี้ที่อย.กำหนด ที่มา: พญ.สาวิตรี เมาฬีกุลไพโรจน์ ‘การเบิกจ่ายยาสวัสดิการข้าราชการ’

  7. การพัฒนาระบบตรวจสอบการใช้ยาการพัฒนาระบบตรวจสอบการใช้ยา • 1กย. 2549 Prior authorization • ยาราคาสูง ในกลุ่มประชากรน้อย • มีข้อมูลด้านเภสัชเศรษฐศาสตร์ และอ้างอิงกับต่างประเทศได้ • ตรวจพบมีการใช้ที่ไม่ตรงตามข้อมูลเชิงประจักษ์ทางการแพทย์ • มีความหลากหลายในวิธีการรักษาในแพทย์แต่ละสาขาวิชา (เฉพาะทาง) • 1ธค. 2549 ประกาศอัตราค่าบริการทางการแพทย์ เรื่อง การเบิกค่ายา • การจัดทำรายการยาที่จะให้เบิก เพื่อปรับให้เข้าสู่การใช้ยาในบัญชียาแห่งชาติ 2550 • การตรวจสอบการใช้ยา (ทั้งยาในบัญชียาหลัก และนอกบัญชียาหลัก) ที่มีมูลค่าการใช้สูง ตามลำดับ ที่มา: พญ.สาวิตรี เมาฬีกุลไพโรจน์ ‘การเบิกจ่ายยาสวัสดิการข้าราชการ’

  8. ข้อดี • รพ.มีการปรับปรุงระบบการทำงาน • การปรับปรุงรายการกิจกรรมต่างๆ ที่ซ้ำซ้อนหลายหน่วยงาน • ปรับปรุงระบบฐานข้อมูล ระเบียบต่างๆ ใหม่ • ทำให้เห็นความสำคัญของ Utilization Management

  9. ปัญหาและข้อขัดข้อง • ระยะเวลาตั้งแต่ประกาศให้ทราบจนถึงใช้จริงสั้นเกินไป • การลงทะเบียนกิจกรรมต่างๆ ตามระเบียบ • - รหัส 38999 จำนวน 61 รายการ • - รหัส 51999 จำนวน 30 รายการ • - รหัส 52999 จำนวน 10 รายการ • - รหัส 72999 จำนวน 150 รายการ • การประชาสัมพันธ์การลงรหัสโรค : Webboard ?

  10. ปัญหาและข้อขัดข้อง • การให้รพ. ลงรหัสกรมบัญชีกลางในหลักฐานการรับเงิน • รพ.ส่วนใหญ่ไม่ได้เตรียมการมาก่อน • ต้องลงทุนปรับระบบคอมพิวเตอร์ • รหัสกิจกรรมยังไม่สมบูรณ์ ทำให้ลงไม่ครบ • บางแห่งไม่ยอมจ่ายรหัสที่ลงท้ายด้วย 999 • ควรเลื่อนการบังคับใช้ไปก่อนจนกว่าจะพร้อม

  11. ปัญหาและข้อขัดข้อง • การสื่อสารทำความเข้าใจทั้งกับผู้ให้บริการและผู้รับบริการ • การเพิ่มการตรวจและวินิจฉัยใหม่ๆ ในอนาคต • การตัดสินใจว่าการตรวจชนิดใดหรือข้อบ่งชี้ใดจะเบิกได้ • หรือเบิกไม่ได้

  12. จำนวนและสัดส่วนค่าใช้จ่ายของผู้ป่วยในสิทธิกรมบัญชีกลางจำนวนและสัดส่วนค่าใช้จ่ายของผู้ป่วยในสิทธิกรมบัญชีกลาง

  13. หมวดที่ 1ค่าห้อง ค่าอาหาร

  14. หมวดที่ 1ค่าห้อง ค่าอาหาร หมายเหตุ: จำนวนผู้ป่วยในทั้งหมด ปี 2549 เป็น 37,680 admissions

  15. หมวดที่ 3-5ค่ายาและสารอาหารทางเส้นเลือด, ค่ายากลับบ้าน และค่าเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา • ราคาขายต่ำกว่า 10 บาท ควรปัดให้เป็นเท่าของ 0.25 บาท • ราคาขายสูงกว่า 10 บาท แต่ไม่เกิน 100 บาท ควรปัดให้เป็นเท่าของ 0.50 บาท • ราคาขายสูงกว่า 100 บาท ควรปัดเศษให้เป็นบาท โดย น้อยกว่า 0.50 บาทปัดลง 0.50 ขึ้นไปปัดขึ้น

  16. หมวดที่ 3-5ค่ายาและสารอาหารทางเส้นเลือด, ค่ายากลับบ้าน และค่าเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา หน่วย:ล้านบาท/ปี

  17. หมวดที่ 7 ค่าตรวจวินิจฉัยทางเทคนิคการแพทย์และพยาธิวิทยา • ปรับอัตราของโรงพยาบาลศิริราชทั้งหมดตามอัตราที่กรมบัญชีกลางกำหนด • รายการนอกเหนือจากประกาศกรมบัญชีกลางให้ใช้ราคาของโรงพยาบาลศิริราช ปี 2548 ยกเว้น 7.7 ค่าตรวจทางพยาธิวิทยา • ให้ส่วนลดเฉพาะสิทธิกรมบัญชีกลางที่มีการลงทะเบียนเบิกจ่ายตรง คิดในอัตราเดียวกับกรมบัญชีกลาง • นอกจากนั้น สิทธิอื่นๆ ใช้อัตราของโรงพยาบาลศิริราช ปี 2548

  18. หมวดที่ 7 ค่าตรวจวินิจฉัยทางเทคนิคการแพทย์และพยาธิวิทยา

  19. สำหรับหมวดที่ 8, 9, 10 และ 11 ยังไม่สามารถสรุปผลกระทบได้

  20. จำนวนและค่าเฉลี่ยต่อรายสำหรับรายได้ของผู้ป่วยในสิทธิกรมบัญชีกลางจำนวนและค่าเฉลี่ยต่อรายสำหรับรายได้ของผู้ป่วยในสิทธิกรมบัญชีกลาง หน่วย:บาท

  21. ประมาณการรายได้จากสิทธิ์กบก.ประมาณการรายได้จากสิทธิ์กบก. หน่วย:บาท

  22. จำนวนและค่าเฉลี่ยต่อรายสำหรับรายได้ผู้ป่วยนอกสิทธิกรมบัญชีกลางจำนวนและค่าเฉลี่ยต่อรายสำหรับรายได้ผู้ป่วยนอกสิทธิกรมบัญชีกลาง

  23. ขอบคุณครับ

More Related