350 likes | 691 Views
แนวทางดำเนินงานควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในระบบหลักประกัน สุขภาพถ้วนหน้า 2554. พญ.ขจีรัตน์ ปรักเอโก สปสช.เขต 7 ขอนแก่น 1 มิถุนายน 2554. มติคณะกก.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 13 กรกฎาคม 2552. เห็นชอบงบบริการควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเรื้อรัง :
E N D
แนวทางดำเนินงานควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 2554 พญ.ขจีรัตน์ ปรักเอโก สปสช.เขต 7 ขอนแก่น 1 มิถุนายน 2554
มติคณะกก.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติมติคณะกก.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 13 กรกฎาคม 2552 เห็นชอบงบบริการควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเรื้อรัง : บริการควบคุม ป้องกันความรุนแรงของโรคเบาหวานและ ความดันโลหิตสูง 1.สนับสนุนและชดเชยการบริการ (On-Top Payment) • ค้นหาผู้ป่วย DM/HT รายใหม่ระยะเริ่มแรก (Early Detection) • รักษาผู้ป่วยตั้งแต่ต้น (Prompt Rx) • เพิ่มคุณภาพการรักษาผู้ป่วย(Improve Quality of Rx) 2.สนับสนุนการบริหารและพัฒนาระบบบริการ DM & HT
แนวทางการดำเนินงานตามมติฯแนวทางการดำเนินงานตามมติฯ • ค้นหาผู้ป่วย DM/HT รายใหม่ระยะเริ่มแรก (Early Detection) เน้นบทบาทของ อปท. และกองทุน อบต./เทศบาล ในการทำ Self Screening และ ระบบเฝ้าระวัง DM & HT ในชุมชน • รักษาผู้ป่วยตั้งแต่ต้น ( Prompt Treatment) เน้นการให้บริการของหน่วยบริการปฐมภูมิ เช่น รพ.สต. และระบบส่งต่อส่งกลับผู้ป่วยของเครือข่ายหน่วยบริการ DM & HT • เพิ่มคุณภาพการรักษาผู้ป่วย ( Improve Quality of Care ) เน้นการเพิ่มคุณภาพของคลินิก DM & HT และเพิ่มการมีส่วนร่วมของผู้ป่วย/ญาติ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ
เป้าหมายการพัฒนาระบบบริการเป้าหมายการพัฒนาระบบบริการ โรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง • สังคม เกิดกระแสใส่ใจภัยเงียบ DM/HT • กสธ./สปสช. - เป็นนโยบายเน้นหนัก • - ผู้ตรวจ/เขตให้ความสำคัญอันดับต้นๆ • - บูรณาการการทำงานของกองทุนย่อย • องค์กรวิชาการ - สนับสนุนการพัฒนาระบบบริการและบุคลากร • - มีเวทีวิชาการที่หลากหลาย และต่อเนื่อง
เป้าหมายการพัฒนาระบบบริการเป้าหมายการพัฒนาระบบบริการ โรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง • สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด - มีหน่วยงานเป็นเจ้าภาพและมีผู้บริหารเป็นSystem Manager ที่ active - มีระบบข้อมูลผู้ป่วย DM/ HT ของพื้นที่ • โรงพยาบาลทุกระดับ - มี DM/HT Case Manager - ปรับคลินิก DM/HT เป็น Chronic caremodel - มีข้อมูลและการส่งต่อผู้ป่วยสู่เครือข่ายปฐมภูมิ - เพิ่มการมีส่วนร่วมของชมรมผู้ป่วย และญาติ • ศูนย์แพทย์ชุมชน/รพ.สต. - มีระบบบริการ DM/HT - สนับสนุนกิจกรรม DM/HT ในชุมชน • กองทุนอบต./เทศบาล - กิจกรรม DM/HT อยู่ในแผน - มีการตรวจคัดกรองความเสี่ยง และตรวจ DM/HT - สนับสนุนการตั้งชมรม DM/HT ที่มีกิจกรรมทุกชุมชน
PP กองทุนท้องถิ่น หน่วยบริการปฐมภูมิ งบเหมาจ่ายรายหัว งบกองทุนโรคเรื้อรัง หน่วยบริการประจำและปฐมภูมิ งบเหมาจ่ายรายหัว, งบค่าใช้จ่ายสูง ,จัดการโรคเฉพาะ, กองทุนไต ,กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพฯ
กรอบการดำเนินงานบูรณาการกองทุนฯสนับสนุนการดูแลผู้ป่วยกลุ่ม Metabolic Disease Primary Prevention Secondary Prevention Tertiary Prevention& Care RRT Center กองทุน PP การตรวจคัดกรองภาวะ แทรกซ้อนต่อหลอดเลือด และการตรวจร่างกาย • HbA1C < 7 % • LDL-Chol < 100 mg% • BP 130/80mmHg • Micro albumin • Eye exam • Foot exam • CAPD • HD • KT CKD clinic CKD Prevention Gr. 1 - 3 Retinopathy Therapy กองทุนฯโรคเรื้อรัง DM/HT กลุ่มเสี่ยง Pre-DM Pre-HT ตรวจสุขภาพ คัดกรองปัจจัยเสี่ยง Stroke Awareness Stroke Alert Stroke fast tract • กองทุน อปท. • - Verbalscreening • สนับสนุนงบประมาณการจัดการพฤติกรรมเสี่ยงในชุมชน • สนับสนุนการจัดตั้งชมรม ผป.DM & HT การลงทะเบียน ACS Alert Cardiac center การรักษาด้วยยา ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การสนับสนุนการจัดการตนเอง
กรอบการบริหารจัดการการควบคุมป้องกันโรคเรื้อรัง (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง) • กองทุนโรคเรื้อรัง • และกองทุนที่เกี่ยวข้องและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ________ • การออกแบบการเงิน • พัฒนากำลังคน • พัฒนามาตรฐานและ • ระบบบริการ • การจัดการสารสนเทศ • การเฝ้าระวัง ติดตาม • ประเมินผล สสจ. NCD Board เป้าหมาย ผู้ป่วย เบาหวาน ความดัน โลหิตสูง 1 เข้าถึงบริการ 2 ได้รับบริการที่มีคุณภาพ 3 ลดภาวะแทรกซ้อนและความพิการ เขต หน่วยบริการประจำ รัฐและเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เครือข่ายผู้ป่วย • 1.สสจ.เป็นหน่วยรับผิดชอบหลักการบริหารในระดับพื้นที่ • 2. การจัดการข้อมูลและระบาดวิทยาในระดับพื้นที่ • บริหารแผนและงบประมาณเชิงบูรณาการ • 4. พัฒนาระบบบริการและคุณภาพมาตรฐาน • 5. การกำกับติดตามและประเมินผล
งบบริการโรคเรื้อรัง (DM/HT) (630,595,000 บาท) พัฒนาระบบบริการ (10%) งบค่าบริการ2nd prevention On-top(90%) จัดสรรตามจำนวนผู้ป่วยที่มีในทะเบียน(80%) จัดสรรตามความครอบคลุมและคุณภาพบริการ**(20%) ค่าบริการจัดสรรให้หน่วยบริการ (≥90%) ค่าบริการจัดสรรผ่านจังหวัด ค่าบริการดำเนินการร่วมกันระดับจังหวัด(<10%) งบประมาณ 2554 - นโยบาย ยุทธศาสตร์และแผนงาน- พัฒนาระบบบริการ- พัฒนาบุคลากร- ระบบสารสนเทศและ M&E
1. พัฒนาศักยภาพบุคลากร • Case Manager : ( สธ. รพ. จุฬาลงกรณ์ สภาการพยาบาล และ สปสช.) • - พัฒนาหลักสูตรพยาบาลเฉพาะทางโรคเรื้อรัง 4 เดือน (APN) • - เนื้อหาเน้นการจัดการและการดูแล ผป. • - กลุ่มเป้าหมาย : พยาบาลที่รับผิดชอบดูแล DM/HT clinic ใน รพ. • - ปี 54 เป้าหมายจำนวน 100 คน • - ภายในปี 56 เป้าหมายจำนวน 1,000 คน 2. System Manager : ( สธ.สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน สปสช.) - System management - Strategic management - Epidemiology - MIS - Financial & Resource management - Healthcare system management กลุ่มเป้าหมาย : ผู้รับผิดชอบงาน NCD จังหวัดและทีม NCD Board3 – 4 คน
2. พัฒนาคุณภาพมาตรฐานบริการ โดยความร่วมมือกับองค์วิชาชีพและสถาบันการศึกษา 1. Clinical Practice Guideline DM , HT 2554 เพื่อสนับสนุนการจัดทำ Management care protocol ระดับจังหวัด 2. กระตุ้นหน่วยบริการให้มีการประเมินตนเองในการดูแลโรคเรื้อรัง (Chronic Care Model) - Self assessment & Gap analysis - Quality improvement Plan 3. สนับสนุนการดูแล ผป. ที่มีภาวะแทรกซ้อนใน DM,HT clinic - การดูแล ผป. ภาวะไตวายเรื้อรังระยะแรก (Gr. 1 -3) - การบำบัดและป้องกันตาบอดจากเบาหวาน 4. สนับสนุนการจัดเครือข่ายการดูแลอย่างต่อเนื่อง (ระดับปฐมภูมิ) 5. สนับสนุนการจัดการความรู้ (KM.) ระดับภูมิภาค เขต จังหวัด 6. พัฒนาระบบการจัดการดูแลตนเอง (Self care management) พื้นที่นำร่อง 4 จังหวัด
3. สนับสนุนความร่วมมือการดำเนินงานของ อปท. การดูแล ผป. โรคเรื้อรัง (DM/HT) • แผนการดูแลโรคเรื้อรังบรรจุในแผนที่ยุทธศาสตร์พื้นที่ (SRM) • การเฝ้าระวังและคัดกรองความเสี่ยงเบื้องต้น เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย (Verbal screening, BP., BW., Ht., วัดรอบเอว ตรวจเลือดปลายนิ้วมือ) • ระบบการจัดการฐานข้อมูลในชุมชนที่เชื่อมโยงกับระบบบริการ • สนับสนุนการจัดกิจกรรมเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงหรือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคนในชุมชน • ประสานงานและเชื่อมโยงกับระบบบริการสุขภาพ (ปฐมภูมิ) เพื่อการดูแลอย่างต่อเนื่องในชุมชน และการส่งต่อ • สนับสนุนการจัดตั้งและกิจกรรมของชมรม ผป. ความดันฯ เบาหวานรวมทั้งการจัดการดูแลตนเองของ ผป.
4. การจัดการระบบข้อมูลสารสนเทศ 1. ระบบลงทะเบียน กลุ่มเสี่ยงสูง กลุ่มป่วย กลุ่มป่วยมีภาวะแทรกซ้อน - ระดับหน่วยบริการ - ระดับชุมชน 2. ระบบการจัดการข้อมูลสารสนเทศโดยจังหวัดเป็นศูนย์กลาง - พัฒนาชุดข้อมูลพื้นฐานทางคลินิก - บูรณาการระบบข้อมูลรายงานที่เกี่ยวข้อง - พัฒนาระบบเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 3. พัฒนาระบบเฝ้าระวังคุณภาพการจัดบริการและความครอบคลุมการบริการของหน่วยบริการโดย CRCN. (เครือข่ายวิจัยคลินิกสหสถาบัน)
5. การกำกับติดตาม ประเมินผล
โปรแกรมบันทึกเวชระเบียน (Electronic Medical Record) การสำรวจประเมินคุณภาพการดูแล ผป. โดย CRCN ทะเบียนผู้ป่วย (Registry) 18 แฟ้ม(OP/PP Individual Records) 53 54 55 56 57 E-Claim (IP Individual Records) ระบบรายงานสำนักระบาดวิทยา การสำรวจพฤติกรรมเสี่ยง กรมควบคุมโรค ทุก 3 ปี การสำรวจภาวะสุขภาพและตรวจร่างกาย สวรส. ทุก 5 ปี
แนวทางดำเนินการประเมินผลคุณภาพแนวทางดำเนินการประเมินผลคุณภาพ การดูแล ผป. เบาหวาน ความดันฯ 2554 วัตถุประสงค์ 1. พัฒนาคุณภาพการดูแล ผป. เบาหวาน ความดันฯ เพื่อป้องกันและชะลอความเสี่ยง ภาวะแทรกซ้อน 2. ส่งเสริม สนับสนุน ให้มีระบบประเมินผลการดูแลฯ ในระดับหน่วยบริการ และภาพรวมระดับจังหวัด 3. พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ เพื่อเฝ้าระวังและติดตามการดูแลฯ
แนวทางดำเนินการประเมินผลคุณภาพแนวทางดำเนินการประเมินผลคุณภาพ การดูแล ผป. เบาหวาน ความดันฯ 2554 เป้าหมาย/ผลลัพธ์ 1. ทีมประเมินคุณภาพการดูแลฯ ระดับจังหวัด 2. ความครอบคลุมการเข้าถึงบริการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงหรือ โรคแทรกซ้อนของเบาหวาน/ความดันฯ 3. อัตราการควบคุมโรคและภาวะเสี่ยงตามเกณฑ์ที่กำหนดเพิ่มขึ้น ระยะเวลาดำเนินการ ภายใน ส.ค. 2554
รายงานผลการดำเนินงานการประเมินผลการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขและโรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร 2553An Assessment on Quality of Care among Patients Diagnosed with type 2 Diabetes and Hypertension Visiting Ministry of Public Health and Bangkok Metropolitan Administration Hospitals in Thailand 2011 เครือข่ายวิจัยคลินิกสหสถาบัน Clinical Research Collaboration Network :CRCN
วัตถุประสงค์ของโครงการวัตถุประสงค์ของโครงการ • เพื่อประเมินผลการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขและกรุงเทพมหานคร ประโยชน์ที่จะได้จากการวิจัย • เพื่อนำผลงานวิจัยที่ได้ไปใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงสำหรับการวางแผนจัดสรรงบประมาณเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน • กระตุ้นให้หน่วยบริการมีการพัฒนาแนวทางและคุณภาพการดูแลผู้ป่วยให้ได้ตามมาตรฐานที่กำหนด • เกิดฐานข้อมูลจำนวนผู้ป่วยเรื้อรังในแต่ละจังหวัดเพื่อนำมาใช้เป็นข้อมูลอ้างอิง ของ สปสช.ต่อไป
สถานที่ทำวิจัย • โรงพยาบาลในเครือข่ายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในแต่ละจังหวัดทั่วประเทศ ได้แก่ โรงพยาบาลศูนย์ (รพศ.) โรงพยาบาลทั่วไป (รพท.) และโรงพยาบาลชุมชน (รพช.)และโรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร • คำนวณขนาดตัวอย่างรวม 76 จังหวัดทั่วประเทศได้ 53,993 ราย • จำนวน ประมาณ 275 แห่งทั่วประเทศ
จำนวนแบบสอบถามที่ส่งกลับจำนวนแบบสอบถามที่ส่งกลับ • เป้าหมาย 55,000 ราย • ยอดรับถึงวันที่ 20 มกราคม 2554 จำนวน 53,119 ราย( 96.6% )
ระดับน้ำตาลในเลือดหลังอดอาหาร (FPG) ในผู้ป่วย type 2 DM จำแนกตามเขตสปสช. National Average = 148.957.1
ระดับ Hb A1C ในผู้ป่วย type 2 DM จำแนกตามเขตสปสช. National Average = 8.02.1 National% <7 = 35.63% US 2003-2006 = 7.15 0.07 US 2003-2006 %<7 = 57.0%
ร้อยละของผู้ป่วย type 2 DM ที่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ BP ≤130/80 mmHg จำแนกตามเขตสปสช. National Average = 51.23% US 2003-2006 = 45.2%
ร้อยละของผู้ป่วย HT ที่มีระดับความดันโลหิต ≤140/90 mmHg จำแนกตามเขตสปสช. National Average = 61.85 %
ร้อยละของผู้ป่วย HT ที่มีโรคเบาหวานร่วมด้วย ที่ควบคุมระดับความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์ < 130/80 mmHg National Average = 43.9 %
ร้อยละของผู้ป่วย type 2 DM ที่มีระดับ LDL < 100 mg/dLจำแนกตามเขตสปสช. National Average = 42.9 %
เป้าหมายการดำเนินการ 2554 • เพิ่มจำนวนโรงพยาบาลชุมชนให้ครอบคลุม ให้สามารถเป็นตัวแทนของข้อมูลในระดับ จังหวัด ได้ดียิ่งขึ้น • เพิ่มการมีส่วนร่วม ของ System Manager ในระดับจังหวัด • รับทราบระบบการจัดเก็บข้อมูล • ร่วมในการกำกับดูแลการจัดเก็บข้อมูล • สนับสนุน การใช้ข้อมูลในทุกระดับ การประเมินผล ในการพัฒนาการบริการ ในระดับจังหวัด • ปรับปรุงตัวชี้วัด เช่น เพิ่ม ผลลัพธ์ ทางคลินิก ของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2
จำนวน รพ.ทั้งหมดในงานวิจัย 2554
แนวคิดในการประเมินในปี 55 • ดำเนินการเก็บข้อมูลต่อเนื่อง เป็นปีที่ 3 • เน้น การมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอน ของ case manager ตั้งแต่การวางแผนการจัดเก็บข้อมูล การปรับปรุงแบบเก็บข้อมูล และการวิเคราะห์ผล • เพิ่มกระบวนการมีส่วนร่วมในการควบคุมคุณภาพของข้อมูลในระดับจังหวัด • นำร่อง การเก็บข้อมูล ในส่วนของผู้ป่วย PCU • ศึกษาความเป็นไปได้ในการขยายผล การจัดเก็บข้อมูล ให้เป็นแบบ Computerized data entry จากหน่วยบริการ • วางแผนการศึกษา ระยะยาว เพื่อประเมินการเกิดผลลัพธ์ทางคลินิกของผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง จากรูปแบบของการให้บริการต่างๆ ของแต่ละพื้นที่
แนวคิดในอนาคต • เชื่อมโยง ข้อมูล การดูแลรักษา (Secondary Prevention) เข้ากับภาพของการดำเนินการป้องกันโรค และการค้นหาผู้ป่วยในระดับชุมชน • พัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูลการประเมินคุณภาพ ให้จังหวัด สามารถนำไปดำเนินการต่อเนื่อง ในอนาคต • เกิดการใช้ประโยชน์ ของข้อมูล เพื่อการพัฒนาคุณภาพในอนาคต • ผู้กำหนดนโยบาย การควบคุมป้องกันและรักษาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ระดับชาติ • แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ อาจารย์แพทย์ • แพทย์และบุคคลากรทางการแพทย์ ผู้ให้บริการในโรงพยาบาล ทุกระดับ • ผู้ป่วย และ ประชาชน
Q&A ด้วยความขอบคุณ