1 / 12

ประวัติความเป็นมาของ วิชา ภาษาศาสตร์

ประวัติความเป็นมาของ วิชา ภาษาศาสตร์. โดย รศ. ดร. อุทัย ภิรมย์รื่น. การแบ่งยุคการศึกษาภาษาศาสตร์ โดย Professor Dr. Charles Fries. ยุคที่ ๑ ค.ศ. ๑๘๒๐ – ๑๘๗๕ (พ.ศ. ๒๓๔๓ – ๒๔๑๘) ยุคที่ ๒ ค.ศ. ๑๘๗๕ – ๑๙๒๕ (พ.ศ. ๒๔๑๘ – ๒๔๖๘) ยุคที่ ๓ ค.ศ. ๑๙๒๕ – ๑๙๕๐ (พ.ศ. ๒๔๖๘ – ๒๔๙๓)

Download Presentation

ประวัติความเป็นมาของ วิชา ภาษาศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประวัติความเป็นมาของวิชาภาษาศาสตร์ประวัติความเป็นมาของวิชาภาษาศาสตร์ โดย รศ. ดร. อุทัย ภิรมย์รื่น

  2. การแบ่งยุคการศึกษาภาษาศาสตร์ โดยProfessor Dr. Charles Fries • ยุคที่ ๑ ค.ศ. ๑๘๒๐ – ๑๘๗๕ (พ.ศ. ๒๓๔๓ – ๒๔๑๘) • ยุคที่ ๒ ค.ศ. ๑๘๗๕ – ๑๙๒๕ (พ.ศ. ๒๔๑๘ – ๒๔๖๘) • ยุคที่ ๓ ค.ศ. ๑๙๒๕ – ๑๙๕๐ (พ.ศ. ๒๔๖๘ – ๒๔๙๓) • ยุคที่ ๔ ค.ศ. ๑๙๕๐ – ปัจจุบัน (พ.ศ. ๒๔๙๓ – ๒๕๔๘)

  3. ยุคที่ ๑ ยุคบุกเบิก • ผู้นำในการศึกษา • Erasmus Rask (1818)ชาวเดนมาร์ค แต่งหนังสือชื่อ Investigation on the Origin of the Old Norse or Icelandic Language • Jacob Grimm (1822)ชาวเยอรมันแต่งหนังสือเรื่อง • “Deutsche Grammatik” (ไวยากรณ์เยอรมัน)

  4. ยุคที่ ๑ (ต่อ) • ลักษณะของการศึกษาแบบวิทยาศาสตร์ • Accumulative การเก็บสะสม รวบรวมข้อมูล • Impersonal ไม่เป็นเรื่องเฉพาะตัว • ผู้นำคนต่อมา เป็นชาว.อเมริกัน. • ชื่อ Dr. William Dwight Whitney • อยู่ที่ Yale University สหรัฐอเมริกามีผลงานด้าน... • Linguistics (Language and the Study of Language)

  5. ยุคที่ ๑ (ต่อ) • Oxford Dictionary ค.ศ. ๑๗๕๕, ๑๘๗๘, ๑๙๒๘ • ผู้ริเริ่ม Dr. SamualJohnson(1755).. • ผู้จัดพิมพ์ Sir James Murray (1928)

  6. สรุปผลการศึกษาในยุคแรกสรุปผลการศึกษาในยุคแรก • ๑. ภาษาไม่มีลักษณะหยุดนิ่งตายตัว • ๒. ภาษามีการเปลี่ยนแปลง • ๓. การเปลี่ยนแปลงของภาษาเกิด จากการใช้ภาษาในชุมชนโดยเจ้าของภาษา

  7. การศึกษาในยุคที่ ๒ • จุดเน้น • ๑. เสียงของภาษา • ๒. คำมีความหมายหลายอย่าง • ๓. มีการวิเคราะห์คุณลักษณะของเสียงแล้วนำมาเผยแพร่ • ๔. การใช้ภาษาของเจ้าของภาษาเป็นสิ่งที่ถูกต้อง

  8. การศึกษาในยุคที่ ๓ • จุดเน้นในด้านโครงสร้างของภาษา • ๑. ภาษาศาสตร์ด้านพรรณนา Descriptive Linguistics • ๒. ผู้นำในด้านนี้คือ Professor Leonard Bloomfield แห่งสหรัฐอเมริกา • ๓. Edward Sapir ให้คำจำกัดความของภาษา • ๔. การศึกษาภาษาแบบ“Synchronic และ Diachronic..”

  9. สรุปผลการศึกษาในยุคที่ ๓ • ๑. ภาษาประกอบด้วยโครงสร้าง • ๒. ภาษาประกอบด้วยเสียงพูดออกมาทางลำคอโดยผ่านฐานกรณ์ (ฐานที่เกิดของเสียงในปาก) • ๓. เสียงจะไม่ยาก – ง่ายในตัวของมันเอง • ๔. หน่วยบ่งชี้รูปแบบของคำและประโยคในภาษา

  10. การศึกษาในยุคที่ ๔ • จุดเน้นในด้านการประยุกต์ภาษาศาสตร์ • ผู้นำในด้านนี้ • ๑. Thomas R. Lounsbury (1992-1997) • ๒. Charles C. Fries (1927) • ๓. Kenneth L. Pike

  11. สรุปการศึกษาในยุคปัจจุบันสรุปการศึกษาในยุคปัจจุบัน • ๑. การประยุกต์ความรู้ทางภาษาศาสตร์ไปใช้ในด้านต่างๆ • ๒. ภาษาศาสตร์เชิงจิตวิทยา • ๓. การแปลภาษาด้วยเครื่องจักร • ๔. ไวยากรณ์เพิ่มพูนและไวยากรณ์ปริวรรต • ๕. การขยายตัวของภาษาศาสตร์ไปสู่ศาสตร์อื่นๆ

  12. การแบ่งขอบข่ายของวิชาภาษาศาสตร์การแบ่งขอบข่ายของวิชาภาษาศาสตร์ • ๑. Synchronic vs Diachronic Study • ๒. ภาษาศาสตร์เชิงทฤษฎี และ ภาษาศาสตร์ประยุกต์ • ๓. ภาษาศาสตร์อนุภาค และ ภาษาศาสตร์มหภาค • ๕. Psycholinguistics, Sociolinguistics Anthropological Linguistics, Dialectology

More Related