260 likes | 411 Views
รศ. ดร.สุขุม เฉลยทรัพย์ ประธานที่ปรึกษาอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต 7 เมษายน 2553. กองการศึกษาผู้ใหญ่ ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษาและศูนย์บริภัณฑ์เพื่อการศึกษา. กรมการศึกษานอกโรงเรียน. สำนักบริหารการศึกษานอกโรงเรียน. สำนักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. หน้า 1.
E N D
รศ. ดร.สุขุม เฉลยทรัพย์ ประธานที่ปรึกษาอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต 7 เมษายน 2553
กองการศึกษาผู้ใหญ่ ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษาและศูนย์บริภัณฑ์เพื่อการศึกษา กรมการศึกษานอกโรงเรียน สำนักบริหารการศึกษานอกโรงเรียน สำนักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย หน้า 1
การส่งเสริมสนับสนุนภาคีเครือข่าย การส่งเสริมสนับสนุนภาคีเครือข่าย • 2. การส่งเสริมบทบาทของชุมชน • 3. การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ • 4. การใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา หน้า 2-3
การเปลี่ยนแปลงมุมมองด้านการศึกษาการเปลี่ยนแปลงมุมมองด้านการศึกษา • 2. ทุกภาคส่วนของสังคมมีสิทธิและหน้าที่ • ในการจัดการศึกษา • 3. การทบทวนปรัชญาพื้นฐานการจัด • การศึกษา • 4. การพัฒนาตัวตนขององค์กร กศน. หน้า 3
“การประชาสัมพันธ์เชิงรุก”… “ตัวช่วย” ของ กศน. ในของยุค KM 1. การประชาสัมพันธ์ (Public Relation) 2. “ภาพลักษณ์” (Image) 3. “การสร้างตราสินค้า” (Branding) 4. “วัฒนธรรมองค์กร” (Corporate Culture) หน้า 6-7
“การประชาสัมพันธ์เชิงรุก”… “ตัวช่วย” ของ กศน. ในของยุค KM การประชาสัมพันธ์เชิงรุก”(Proactive PR) • เป็นการเสาะแสวงหาโอกาสต่าง ๆ ในการสร้างข่าวสาร หรือสร้างเหตุการณ์ต่าง ๆ มากกว่าการคอยแก้ไขปัญหา • นำมาใช้กับการแนะนำ หรือการปรับปรุงนโยบายใหม่ หรือการริเริ่มโครงการต่าง ๆ ขององค์กร หน้า 7
การประชาสัมพันธ์ทำอย่างไร? ให้มี “ประสิทธิภาพ” การประชาสัมพันธ์ที่มีประสิทธิภาพ 1. การวิจัย-การรับฟัง 2. การวางแผน-การตัดสินใจ 3. การสื่อสาร-ลงมือปฏิบัติ 4. การประเมินผล หน้า 8
การประชาสัมพันธ์ทำอย่างไร? ให้มี “ประสิทธิภาพ” กระบวนการ และขั้นตอนของการดำเนินงานประชาสัมพันธ์ • การศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล • สถานการณ์ • ภูมิหลัง • ปัญหา • ฯลฯ • การวางแผนและโครงการ • การวิเคราะห์ยุทธวิธี • เป้าหมาย • ทางเลือก • ผลดี ผลเสีย • ผลที่ติดตามมา • การตัดสินใจ • การดำเนินยุทธวิธี • การใช้สื่อ • กำหนดสื่อ • กำหนดงบประมาณและค่าใช้จ่าย • การพิจารณาอนุมัติ • การเสนอพิจารณา • การให้ความสนับสนุน • การมีส่วนร่วม • การสื่อสาร • การปฏิบัติการ • จังหวะเวลา • การย้ำเตือน • การติดตามผล • การประเมินผล • ผลที่ได้รับ • ปฏิกิริยาตอบกลับ • การพิจารณาทบทวน • การแก้ไปรับปรุง • ฯลฯ 3 4 หน้า 9
ความหมาย : 1.ความหมายในเชิงการตัดสินคุณค่าจาก ความคิดเห็น 2. ความหมายในเชิงการตัดสินคุณค่าจาก เกณฑ์ที่กำหนด 3. ความหมายในเชิงกระบวนการรวบรวม ข้อมูล สารสนเทศ หน้า 14-15
ความสัมพันธ์ระหว่างการวัด การประเมินผล และการตัดสินใจ หน้า 16
ประโยชน์ : 1. รับรู้ถึงสภาพปัญหาที่เป็นอยู่ สาเหตุ และปัจจัยที่ เกี่ยวข้อง 2. รับรู้ถึงการดำเนินงาน การปฏิบัติงาน รวมทั้ง ผลลัพธ์ที่ได้ 3. รับรู้ถึงประสิทธิผล และประสิทธิภาพของการ ดำเนินงาน 4. รับรู้ถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการ ดำเนินงาน หน้า 16
ประเภทการประเมินผลโครงการประเภทการประเมินผลโครงการ อาจจำแนกการประเมินผลโครงการออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้ 1. การประเมินโครงการก่อนดำเนินการ(Preliminary Evaluation) เป็นการศึกษาประเมินความเป็นไปได้ (Feasibility Study) ก่อนที่เริ่มโครงการใด ๆ 2. การประเมินระหว่างดำเนินการโครงการ(Formative Evaluation) เป็นการประเมินผลเพื่อการปรับปรุงเป็นสำคัญซึ่งมักจะใช้ประเมินผลระหว่างแผนหรือระหว่างพัฒนาโครงการ หน้า 16-18
ประเภทการประเมินผลโครงการ (ต่อ) 3. การประเมินเมื่อสิ้นสุดโครงการหรือประเมินผลผลิต (Summative Evaluation) เป็นการประเมินผลรวมสรุป มักจะดำเนินการหลังสิ้นสุดโครงการ 4. การประเมินประสิทธิภาพ ช่วยเสริมให้โครงการสามารถดำเนินการอย่างสอดคล้องกับสภาวการณ์ของสังคม เพราะนอกจากความสำเร็จของโครงการแล้ว ยังจะต้องคุ้มค่าในเชิงของประสิทธิภาพด้วย หน้า 18-19
การประเมินผลโครงการประชาสัมพันธ์ : กรณีการวิจัยเชิงสำรวจ การวิจัยเชิงสำรวจ : 1 ในวิธีการติดตามประเมินผล โครงการประชาสัมพันธ์เชิงรุก “การวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research)” เป็นการวิจัยที่มุ่งค้นหาความรู้ความจริงจากสภาพที่ปรากฏอยู่ ซึ่งเป็นเรื่องเกี่ยวกับความรู้สึกนึกคิดความต้องการของประชาชน หรือเพื่อหาความสัมพันธ์ของตัวแปร ต่าง ๆ ทางสังคมผลจากการสำรวจสามารถต่อไปสู่การวางแผนและนโยบายต่าง ๆ หน้า 21
การประเมินผลโครงการประชาสัมพันธ์ : กรณีการวิจัยเชิงสำรวจ ทำไม?ต้องเป็น การวิจัยเชิงสำรวจ!!! การวิจัยเชิงสำรวจสามารถนำมาใช้ติดตามประเมินผลโครงการประชาสัมพันธ์เชิงรุกเพื่อสำรวจว่าโครงการประชาสัมพันธ์ที่ลงทุนลงแรงไปนั้นสามารถบรรลุเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้มากน้อยเพียงใด หน้า 21
การประเมินผลโครงการประชาสัมพันธ์ : กรณีการวิจัยเชิงสำรวจ ประโยชน์ของการวิจัยในงานประชาสัมพันธ์ 1. ทำให้เกิดการสื่อสารแบบสองทิศทางระหว่างองค์กรกับประชาชน 2. ทราบถึงความเป็นไปขององค์กร ในทัศนะของประชาชน 3. ช่วยให้ค้นพบปัญหาก่อนที่ปัญหาจะลุกลามใหญ่โต 4. ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการติดต่อหรือเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร หน้า 21
กระบวนการวิจัยเชิงสำรวจ เพื่อติดตามประเมินผลโครงการประชาสัมพันธ์เชิงรุก มี 3 ขั้นตอน 1. ขั้นเตรียมการและการวางแผนการวิจัย 2. ขั้นดำเนินการ 3. ขั้นตอนสรุปและนำเสนอการวิจัย หน้า 22
กำหนดปัญหาที่จะศึกษา • วิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นของเรื่องที่จะศึกษา • ศึกษาเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เตรียมการ • นิยามปัญหา • กำหนดวัตถุประสงค์ของการวิจัย • กำหนดขอบเขตการวิจัย • กำหนดสมมติฐาน • กำหนดเครื่องมือที่จะใช้ในการวิจัย • กำหนดวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล • เขียนโครงการวิจัย หรือข้อเสนอโครงการ กำหนดแผนการวิจัย • สร้างเครื่องมือวิจัย • ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ และปรับปรุง • รวบรวมข้อมูล • วิเคราะห์ข้อมูล • เสนอผลการวิเคราะห์ • สรุป อภิปรายผลการวิจัย ดำเนินการวิจัย นำเสนอผล นำเสนอผล หน้า 23
Mkt PR Mkt PR Mkt PR MPR P M “MPR” การประชาสัมพันธ์ที่ได้มากกว่าภาพลักษณ์ การประชาสัมพันธ์ในยุค KMและ ในอนาคต 1 2 ปัจจุบัน & อนาคต 3 4 5 หน้า 27
“MPR” การประชาสัมพันธ์ที่ได้มากกว่าภาพลักษณ์ ทำไม? ต้องเป็นการประชาสัมพันธ์เชิงการตลาด 1.ค่าสื่อโฆษณาราคาสูงขึ้น2.ตลาดและสื่อแตกแยกย่อยมากขึ้น 3.นักการตลาดนิยมใช้เครื่องมือการสื่อสารผสมผสานกันมากขึ้น 4.ทัศนคติของกลุ่มเป้าหมายมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา 5. งบประมาณมีจำกัดแต่ต้องสร้างความน่าเชื่อถือ และภาพลักษณ์ที่ดีเพื่อให้จำหน่ายสินค้าหรือบริการได้ หน้า 28
“MPR” การประชาสัมพันธ์ที่ได้มากกว่าภาพลักษณ์ ประเภทของการประชาสัมพันธ์เชิงการตลาด 1. การประชาสัมพันธ์เชิงการตลาดแบบรุก(Proactive MPR) มุ่งสร้างโอกาสทางการตลาดมากกว่าคอยแก้ปัญหาที่จะเกิดขึ้น 2. การประชาสัมพันธ์เชิงการตลาดแบบรับ(Reactive MPR) มุ่งแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับสินค้าหรือบริษัทอันเป็นการทำลาย ชื่อเสียง ภาพลักษณ์ของสินค้าหรือบริษัท 3 หน้า 28
“MPR” การประชาสัมพันธ์ที่ได้มากกว่าภาพลักษณ์ ขอบเขตของการประชาสัมพันธ์เชิงการตลาด 1. การเขียนและบริหารแผนการประชาสัมพันธ์เชิงการตลาด (MPR Planning and Management) 2. สื่อมวลชนสัมพันธ์ (Media Relations) 3. การเผยแพร่ข่าวสาร (Producing Publicity) 4. การผลิตสิ่งพิมพ์ (Producing Publications) 5. การสื่อสารองค์กร (Corporate Communications) 3 4 5 หน้า 29
“MPR” การประชาสัมพันธ์ที่ได้มากกว่าภาพลักษณ์ ขอบเขตของการประชาสัมพันธ์เชิงการตลาด(ต่อ) 6. การล็อบบี้ (Lobbying) 7. การบริหารภาวะวิกฤต(Crisis Management) 8. การวิจัยและวิเคราะห์ (Research and Analysis) 9. กลุ่มชนเป้าหมายของการประชาสัมพันธ์เชิงการตลาด (Marketing Public Relations Audience) 10. การลงมือปฏิบัติตามแผนการประชาสัมพันธ์เชิงการตลาด (Implementing Marketing Public Relations) หน้า 29-30
การประชาสัมพันธ์องค์กรเป็นกลไกการบริหารการประชาสัมพันธ์องค์กรเป็นกลไกการบริหาร • ผู้บริหารต้องเกี่ยวข้องกับการประชาสัมพันธ์ 1. ต้องแก้ไขความเข้าใจผิด 2. การชี้แจงควรให้ข่าวสารที่เป็นข้อเท็จจริง 3. การประชาสัมพันธ์แบบเบี่ยงเบน 4. การนำเยี่ยมชมกิจการขององค์กร หน้า 33
Mr. Galen G. Weston Loblaw Co.Ltd. หน้า 37
บทนำ โครงการประชาสัมพันธ์ ผลการดำเนินงาน หน้า 44