380 likes | 658 Views
กองทุนทันตกรรมในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2554. 1. นำเสนอวันที่ 18 ตค. 2553. สถานการณ์สุขภาพช่องปาก. 100%. ร้อยละฟันผุ. 80.64. 3-15 ปี. ร้อยละการเข้าถึงบริการทันตกรรม. 24.43. 89.57. 35-44 ปี. 38.29. 96.15. 60-74 ปี. 32.28. 20. 40. 60. 80. ร้อยละ. 2.
E N D
กองทุนทันตกรรมในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าปีงบประมาณ 2554 1 นำเสนอวันที่ 18 ตค. 2553
สถานการณ์สุขภาพช่องปากสถานการณ์สุขภาพช่องปาก 100% ร้อยละฟันผุ 80.64 3-15ปี ร้อยละการเข้าถึงบริการทันตกรรม 24.43 89.57 35-44 ปี 38.29 96.15 60-74 ปี 32.28 20 40 60 80 ร้อยละ 2 (ที่มา:การสำรวจของกองทันตสาธารณสุข ปี 2550)
สถานการณ์สุขภาพระบบบริการทันตกรรมสถานการณ์สุขภาพระบบบริการทันตกรรม การกระจายตัวของทันตบุคลากร สัดส่วนทันตแพทย์ต่อประชากร สัดส่วนทันตภิบาลต่อประชากร 3 ที่มา: กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย พ.ศ. 2551
เป้าหมายและความคาดหวังเมื่อสิ้นปีงบประมาณ 2554 • เกิดความร่วมมือระหว่าง ทันตแพทยสภา กระทรวงสาธารณสุขมหาวิทยาลัย องค์กรทันตแพทย์เอกชน แสะ สปสช. ในการสนับสนุนให้เกิดระบบการจัดบริการด้านทันตกรรมในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่เหมาะสม • เกิดระบบบริหารงานทันตกรรม และระบบข้อมูล ไอที ในระดับจังหวัด ที่เอื้อต่อการจัดบริการทันตสุขภาพ และติดตามผลการให้บริการทั้งในหน่วยบริการและพื้นที่ • มีการสนับสนุนการผลิต พัฒนาและกระจายทันตบุคลากรสู่ รพ.สต.และหน่วยบริการปฐมภูมิอื่นๆ • มีการดำเนินงานทันตสาธารณสุขในโรงเรียนประถมศึกษาอย่างเข้มข้น ทั่วถึง และนักเรียน ป.1 ได้รับการบริการทันตกรรมโดยบูรณาการงานสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ป้องกันโรคและรักษาทางทันตกรรม(Comprehensive care) และขยายการเฝ้าระวังในปีถัดไป • มีแผนยุทธศาสตร์ด้านทันตสาธารณสุขระดับประเทศ แผนพัฒนาระบบบริการทันตสาธารณสุขของทุกจังหวัด และแผนดำเนินงานให้บริการ • ทันตกรรมประจำปีของแต่ละ คปสอ. โดยทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมเป็นเจ้าของแผน 4
การจัดบริการทันตกรรมแบ่งตามกลุ่มเป้าหมายการจัดบริการทันตกรรมแบ่งตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมายหลัก กลุ่มเป้าหมายรอง
การบริหารงบประมาณที่เกี่ยวข้องกับจัดบริการ ทันตกรรมในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้กองทุนทันตกรรมชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้กองทุนทันตกรรม 7
ชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้กองทุนทันตกรรมชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้กองทุนทันตกรรม 8
ชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้กองทุนทันตกรรมชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้กองทุนทันตกรรม 9
ชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้กองทุนทันตกรรมชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้กองทุนทันตกรรม 10
ชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้กองทุนทันตกรรมชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้กองทุนทันตกรรม 11
ในกลุ่มวัยเรียน ให้เน้นเด็ก ชั้นป. 1 โดยต้องการ ให้จัดบริการทันตกรรมผสมผสาน อย่างสมบูรณ์ ส่วนเด็กชั้นปีอื่น ให้บริการตามความจำเป็น 12
ชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้กองทุนทันตกรรมชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้กองทุนทันตกรรม 13
ชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้กองทุนทันตกรรมชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้กองทุนทันตกรรม 14
กรอบการบริหารจัดการ กองทุนทันตกรรม ปี 2554 งบกองทุนทันตกรรม บริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน 1206 ลบ. (25.12 บ./ปชก.สิทธิ UC ) ( 18.73 บ./ปชก.ทุกสิทธิ) 3. บริการทันตกรรมประดิษฐ์ (ฟันเทียม) (108 ลบ.) ( 2.25 บ./ปชก.สิทธิ UC ) 2. งบสนับสนุนและพัฒนา ระบบบริการทันตกรรม (60 ลบ.) ( 0. 93 บ./ปชก.ทุกสิทธิ ) 1.งบบริการทันตสุขภาพ (1146 ลบ.) ( 17. 80บ./ปชก.ทุกสิทธิ) 1.3 บริการสร้างเสริมสุขภาพ ช่องปาก ทันตกรรมป้องกัน และรักษาในกลุ่มเป้าหมายหลัก 70%(781 ลบ.) ( 12.13 บ./ปชก.ทุกสิทธิ ) 1.1 บริการสร้างเสริมสุขภาพ ช่องปากระดับประเทศ (30 ลบ.) ( 0. 47 บ./ปชก.ทุกสิทธิ ) 1.2 บริการสร้างเสริมสุขภาพ ช่องปากและกระตุ้นการจัดบริการระดับจังหวัด 30%(335 ลบ.) ( 5.20 บ./ปชก.ทุกสิทธิ )
1. งบบริการทันตสุขภาพ 1.1 บริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากระดับประเทศ เพื่อดำเนินกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพช่องปากระดับประเทศ เพื่อดำเนินการขับเคลื่อน ก่อกระแสสังคมให้เกิดการผลักดันด้านนโยบายสาธารณะ และสนับสนุนเชิงระบบในระดับมหภาค ให้เกิดการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากระดับประเทศร่วมกับ สสส.และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
1.2 งบสร้างเสริมสุขภาพช่องปากและกระตุ้นการจัดการระดับจังหวัด ระดับจังหวัด 1. สนับสนุนการดำเนินกิจกรรมตามยุทธศาสตร์ระดับประเทศที่ เกี่ยวข้องกับสุขภาพช่องปาก 2. สนับสนุนการดำเนินกิจกรรมตามนโยบายระดับจังหวัดที่ เกี่ยวข้องกับสุขภาพช่องปาก 3. พัฒนาและสนับสนุนการกระจายทันตบุคลากรในระบบบริการ ปฐมภูมิ เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการทันตสาธารณสุขในพื้นที่ 4. ส่งเสริมการเข้าถึงบริการทันตสาธารณสุขในพื้นที่ให้มากขึ้น โดย พัฒนาการมีส่วนร่วมของภาครัฐและเอกชนในพื้นที่ 5. เพิ่มประสิทธิภาพการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากใน ระบบปกติ 6. สนับสนุนการดำเนินโครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากโดยการ มีส่วนร่วมของชุมชน เช่น อบจ. อบต. เทศบาล ระดับ CUP/ PCU/สอ./หน่วยงานอื่น * เป็นโครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากที่ดำเนินงานแก่ ประชาชนในพื้นที่ โดยเป็นการแก้ปัญหาที่สอดคล้องกับ สภาพปัญหา และบริบทของพื้นที่ และมุ่งเน้นใน กลุ่มเป้าหมายที่ไม่ใช่กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ กลุ่มเยาวชน (มัธยมศึกษาขึ้นไป) วัยทำงานและผู้สูงอายุ แนวทางการดำเนินงาน (ลักษณะProject- based) ทั้งนี้ การดำเนินโครงการสร้างเสริมและป้องกันสุขภาพช่องปากในระดับจังหวัด CUP/ PCU/สอ./หน่วยงานอื่น (1.2)ต้องไม่ซ้ำซ้อน กับการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ทันตกรรมป้องกันและรักษาในกลุ่มเป้าหมายหลัก(1.3) 17
แนวทางการจัดสรรงบกองทุนทันตกรรมระดับจังหวัด (70 :30) 1.1 การจัดสรรงบกองทุนทันตกรรมในส่วน 70% ลงระดับ CUP ให้จัดสรรตามกิจกรรมในกลุ่มเป้าหมายหลัก โดยแยกส่วนของ รพ. รพ.สต.ที่ไม่มีทันตาภิบาล และส่วนของ รพ.สต.ที่มีทันตาภิบาล และสำหรับกิจกรรมภาพรวมของ CUP ให้ จัดสรรให้โรงพยาบาลเป็นผู้บริหารจัดการ
งบ กองทุนทันตฯระดับ CUP (70 %) รพ.แม่ข่าย(รวม รพ.สต.ที่ไม่มีทันตทันตาฯ (…%) รพ.สต. ทีไม่มีทันตาฯ (…. %) รพ.สต.ทีมีทันตาฯ (…..%) การบริหารงบกองทุนทันตกรรมระดับจังหวัดในส่วน 70% -ให้บริการสุขภาพช่องปากตามชุด สิทธิประโยชน์ กลุ่มเป้าหมายหลัก(เขตตำบลของ รพ./ นอกเขตตำบลที่ไม่มีทันตาภิบาล) -งานเชิงรุก(Project based) กลุ่มเป้าหมายหลัก กลุ่มเป้าหมายพิเศษ -ให้บริการสุขภาพช่องปากตามชุด สิทธิประโยชน์ กลุ่มเป้าหมายหลักในตำบล/หรือ นอกเขตตำบลที่ต้องดูแล -งานเชิงรุก(Project based) กลุ่มเป้าหมายหลัก กลุ่มเป้าหมายพิเศษ -งานเสริมสร้างศักยภาพภาคีเครือข่าย อื่นๆในพื้นที่ กิจกรรมภาพรวมของ CUP (โอนเงินลง รพ.แม่ข่าย)
กิจกรรมภาพรวมของ CUP (โอนเงินลง รพ.แม่ข่าย) • งานโครงการแก้ไขปัญหาระดับอำเภอ(Project based) • ค่าวัสดุทันตกรรมภาพรวม • ค่าซ่อมบำรุงอะไหล่ครุภัณฑ์ทันตกรรม • ค่าพัฒนาศักยภาพทีมสนับสนุนการจัดบริการ • งบส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย • สนับสนุนวิชาการ (ทภ./จนท.สธ./ภาคีเครือข่าย) • ประเมินผลการดำเนินงานของพื้นที่
1.2 บริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากและกระตุ้นการจัดการระดับจังหวัด สปสช.โดยกองทุนทันตกรรมแจ้งจัดสรรวงเงินตามรายหัวประชากร ทุกสิทธิ (ระดับจังหวัด) แก่ สปสช สาขาจังหวัด ผ่าน สปสช.เขต (ตุลาคม 53) แนวทางการบริหารงบ สปสช สาขาจังหวัดจัดทำแผนงาน/โครงการโดยคณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปากระดับจังหวัดคำนึงถึงการมีส่วนร่วมของ CUP/ PCU/สอ./หน่วยบริการ/องค์กรอื่นๆ (ธันวาคม 53) ปรับแผน สปสช. สาขาจังหวัดส่งแผนงาน/ โครงการให้คณะทำงาน ทันตสาธารณสุขระดับสปสช.เขต พิจารณา (ธันวาคม 53) สปสช.เขตแจ้งผลการพิจารณาแผนงาน/ โครงการและยืนยันวงเงินที่จะจัดสรร ของแต่ละจังหวัดให้กองทุนฯเพื่อทำการโอนงบประมาณ (ธันวาคม 53) สปสช. โดยกองทุนทันตกรรม โอนงบประมาณตรงไปที่ สปสช.สาขาจังหวัด (โอน100%) (มกราคม 54)
1.งบบริการทันตกรรม 1.3 สร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ทันตกรรมป้องกันและรักษาในกลุ่มเป้าหมายหลัก แนวทางการดำเนินงาน • สนับสนุนการดำเนินงาน สร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ทันตกรรมป้องกันและรักษาในเด็กวัยเรียน ตามชุดสิทธิประโยชน์โดยเน้นการจัดบริการทันตกรรมแบบผสมผสานอย่างสมบูรณ์ในเด็กป.1 • สนับสนุนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ทันตกรรมป้องกันและรักษาในหญิงตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัยตามชุดสิทธิประโยชน์ ทั้งนี้ หน่วยบริการประจำต้องจัดทำแผนปฎิบัติการสำหรับการดูแลสุขภาพช่องปากในกลุ่มเป้าหมายหลักอย่างชัดเจน โดยระบุรายละเอียดกิจกรรมระยะเวลาที่จะดำเนินการ จำนวนเป้าหมาย ให้ครอบคลุมจำนวนสถานศึกษา/ศูนย์เด็กเล็กในพื้นที่ 22
1.3 บริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ทันตกรรมป้องกันและรักษาในกลุ่มเป้าหมายหลัก สปสช.โดยกองทุนทัตกรรมแจ้งจัดสรรวงเงินตามรายหัวประชากรทุกสิทธิ (ระดับจังหวัด) แก่ สปสช สาขาจังหวัด แจ้งผ่าน สปสช.เขต ( ตุลาคม 53) แนวทางการบริหารงบ สปสช.สาขาจังหวัดโดยคณะกรรมการพัฒนาระบบสุขภาพช่องปากระดับจังหวัด กำหนดเป้าหมายและวงเงินงบประมาณ.ให้CUPเพื่อจัดทำแผนดำเนินงาน (พ.ย. 53) สปสช. สาขาจังหวัดแจ้งวงเงิน ที่จะจัดสรรให้แต่ละ CUP ผ่าน สปสช.เขตให้กองทุนทันตกรรมทราบ เพื่อทำการโอนงบประมาณ (พ.ย.53) สปสช. สาขาจังหวัดแจ้งเป้าหมายและวงเงินที่จัดสรร ให้แต่ละ CUP เพื่ออคปสอ.จัดทำแผนดำเนินงานทันตสาธารณสุขในพื้นที่โดยคำนึงถึงการมีส่วนร่วมของผู้แทนท้องถิ่น/ ทันตบุคลากร และภาคประชาคม (พ.ย. 53) สปสช. สาขาจังหวัด รวบรวมแผนดำเนินงานทันตสาธารณสุขเพื่อเสนอ คณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปากระดับจังหวัด พิจารณาให้ความเห็นชอบ( ธค.53) ปรับแผน สปสช.สาขาจังหวัดกำกับติดตาม/ รวบรวมแผนดำเนินงานและแจ้งผลการดำเนินงานแก่สปสช.ผ่าน สปสช.สาขาเขต สปสช.โดยกองทุนทันตกรรมโอนงบประมาณตามที่ สปสช.สาขาจังหวัด แจ้งจัดสรร ตรงไปที่ CUP (โอน 100 %) (ธ.ค. 53)
ทั้งนี้การบริหารจัดการงบประมาณข้อ 1.2 และ 1.3 สำหรับ สปสช.เขต 9 นครราชสีมาและสปสช. เขต1 กทม. ให้เป็นไปตามแนวทางที่คณะอนุกรรมการหลักประกันสุขภาพระดับเขตภายใต้กรอบการบริหารงบประมาณที่ สปสช.กำหนด 24
2 .งบสนับสนุนและพัฒนาระบบบริการทันตกรรม แนวทางการดำเนินการ • สนับสนุนระบบการบริหารจัดการ (ระดับประเทศ เขต จังหวัด) เพื่อให้เกิดการดำเนินงานทันตสาธารณสุขให้มีประสิทธิภาพ • สนับสนุนการพัฒนาระบบบริการทันตกรรม เพื่อให้เกิดแนวทาง/นวัตกรรมในการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น โครงการนำร่องในการจัดบริการทันต กรรม โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพ/ การผลิต /กระจายทันตบุคลากร เช่น • การกระจายทันตาภิบาลเข้าสู่หน่วยบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล การพัฒนาศักยภาพบุคลากรอื่นๆ ให้มีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากในกลุ่มเป้าหมาย • 4. สนับสนุนการพัฒนาระบบข้อมูลทันตสาธารณสุข • 5. จัดทำแผนยุทธศาสตร์ระบบสุขภาพช่องปากระดับชาติ 25
3.งบทันตกรรมประดิษฐ์(ฟันเทียม)3.งบทันตกรรมประดิษฐ์(ฟันเทียม) • จัดสรรงบ เพื่อให้บริการใส่ฟันเทียมแก่ผู้มีสิทธิหลักประกันสุขภาพเท่าที่แพทย์เห็นจำเป็นโดยเน้นการให้บริการในผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป (สิทธิ UC รวมสิทธิว่าง) • ตามรายการที่ระบุในบัญชีประเภทและอัตราราคากลางค่าอุปกรณ์และอวัยวะเทียมในการบำบัดรักษาโรคฯ ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2554 - การใส่ฟันเทียมทั้งปากถอดได้ 1 ชิ้น บนหรือล่าง - การใส่ฟันเทียมทั้งปากถอดได้ 2 ชิ้น บนหรือล่าง - การใส่ฟันเทียมบางส่วนถอดได้ 1-5 ซี่ - การใส่ฟันเทียมบางส่วนถอดได้ 5 ซี่
3.แนวทางบริหารงบทันตกรรมประดิษฐ์(ฟันเทียม)3.แนวทางบริหารงบทันตกรรมประดิษฐ์(ฟันเทียม) • หน่วยบริการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายในการให้บริการฟันเทียมตามที่เกิดขึ้นจริง ไม่เกินเพดานที่กำหนด 2. หน่วยบริการบันทึกข้อมูลการให้บริการด้วยโปรแกรม E-Claim โดยต้องบันทึกรหัสอุปกรณ์ฟันเทียมตามที่ให้บริการจริง (ภายใน 30 วันหลังให้บริการ) 3. สปสช. คำนวณการจ่ายชดเชยตามราคาที่หน่วยบริการเรียกเก็บ แต่ไม่เกินราคากลางของแต่ละรายการตามที่กำหนดในคู่มือแนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขปีงบประมาณ 2554ทั้งการให้บริการ กรณีผู้ป่วยนอก หรือกรณีผู้ป่วยใน 4.สปสช. ทำการตัดข้อมูลตามรอบที่กำหนด พร้อมทั้ง พิจารณาตรวจสอบและออกรายงานการจ่ายเงินจริงให้หน่วยบริการทราบทาง www. nhso.go.th/acc 27
ตัวชี้วัด 1. ตัวชี้วัดกระบวนการ 1.1สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สาขาจังหวัด - คณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปากระดับจังหวัดมีการประชุมติดตามผลการดำเนินงานในพื้นที่อย่างน้อย 2 ครั้งต่อปี - มีระบบการจัดเก็บและฐานข้อมูลสภาวะทันตสุขภาพในภาพรวมของระดับจังหวัด 1.2 คณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขอำเภอ - มีคณะกรรมการที่ประกอบด้วยทันตบุคลากร ผู้แทนท้องถิ่น และภาคประชาสังคม - มีการประชุมคณะกรรมการไม่น้อยกว่า 3 ครั้ง/ ปี เพื่อพิจารณาและติดตามงานแผนดำเนินงานทันตสาธารณสุข
ตัวชี้วัด (ต่อ) ขอให้คณะกรรมการพัฒนาระบบริการสุขภาพช่องปากระดับจังหวัดและคณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขอำเภอรายงานผลการติดตามการดำเนินงานตามเกณฑ์ ตัวชี้วัดกระบวนการให้แก่ กองทุนทันตกรรม สปสช. ภายในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2554โดยสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สาขาจังหวัด เป็นผู้รวบรวมรายงานทั้งหมดให้ สปสช.เขตโดยมีประเด็นในการจัดทำเอกสารสรุป ดังนี้ - สรุปย่อรายละเอียด /ผลลัพธ์ ของโครงการ - รายงานการประชุม ในแต่ละครั้งที่มีการพิจารณาและติดตาม แผนดำเนินงาน/โครงการ - คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ
ตัวชี้วัด (ต่อ) 2. ตัวชี้วัดผลผลิต 2.1 เด็กนักเรียนชั้น ป.1 ในพื้นที่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากในปีการศึกษา 2554 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 2.2 เด็กนักเรียนชั้น ป.1 ได้รับการบริการทันตกรรมผสมผสานอย่างสมบูรณ์ (complete treatment) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของเด็ก ป. 1 ที่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก 2.3 จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการใส่ฟันเทียม 30,000 คนต่อปี (หนองคาย 409 ราย เหมือนปี 2553 ) - ทั้งนี้ในปีงบประมาณ 54 นี้ ยังคงมีตัวชี้วัดเพื่อประกอบการประเมิน เกณฑ์คุณภาพ ระดับหน่วยบริการประจำ/ปฐมภูมิ ได้แก่ การเข้าถึงบริการทันตกรรมและงานทันตสาธารณสุข ที่จำเป็น ตามที่ สปสช. เคยพัฒนาขึ้นในปีงบประมาณ 2553
การติดตามประเมินผล • - การเยี่ยมติดตาม • - การรายงานผลการดำเนินงานที่ไม่เป็นภาระมากเกินไป • - การวิเคราะห์และแปรผลข้อมูลฟันเทียมจากฐานข้อมูลโปรแกรม E-claim • - การส่งรายงานผลการดำเนินงาน
ตัวชี้วัดและการติดตามประเมินผลตัวชี้วัดและการติดตามประเมินผล การส่งรายงานผลการดำเนินงาน 1. กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพช่องปากและกระตุ้นการจัดบริการระดับจังหวัด - ให้ทุกหน่วยงานที่ได้รับอนุมัติแผนงาน/โครงการดำเนินการส่งรายงานฉบับสมบูรณ์ไป ยัง สปสช. สาขาจังหวัดตามเงื่อนไขเวลาที่กำหนดไว้ในแผนงาน/โครงการ 2. กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ทันตกรรมป้องกันและรักษาใน กลุ่มเป้าหมายหลักระดับหน่วยบริการประจำ - ให้ทุกหน่วยงานที่แผนดำเนินการผ่านการพิจารณาให้ความเห็นชอบแล้วส่งรายงาน ฉบับสมบูรณ์ไปยังคณะกรรมการสาธารณสุขประจำอำเภอตามเงื่อนไขเวลาที่กำหนด ไว้ในแผน - ให้บันทึกการตรวจสุขภาพช่องปากและการให้บริการทันตกรรมแก่เด็กนักเรียนลงใน โปรแกรม sealant ที่สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัยพัฒนาขึ้น
กลไกการบริหารจัดการกองทุนทันตกรรมกลไกการบริหารจัดการกองทุนทันตกรรม 1.คณะกรรมการกำกับทิศทางและสนับสนุนการบริหารกองทุนทันตกรรมในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 2. คณะทำงานพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์และระบบบริการทันต สาธารณสุข 3. คณะทำงานขับเคลื่อนการสร้างเสริม ป้องกันทันตสุขภาพ 4. คณะทำงานพัฒนาระบบข้อมูล ไอที และรายงานในระบบทันตสาธารณสุข
(ร่าง)คณะทำงานทันตสาธารณสุขระดับ สปสช.เขต 6.1 กำหนดทิศทางและนโยบายการจัดบริการสุขภาพช่องปาก และกรอบบริหารงบประมาณและจัดทำแผนสร้างเสริมสุขภาพช่องปากในระดับเขตพื้นที่ ให้เป็นไปตามแนวทางที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด 6.2 พิจารณาและอนุมัติแผนงาน/ โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากและกระตุ้นการจัดบริการระดับจังหวัด ตามแนวทางการดำเนินงานกองทุนทันตกรรม 6.3 ติดตามประเมินผลการใช้งบประมาณและรายงานผลการดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการ ในระดับจังหวัดและหน่วยบริการให้คณะอนุกรรมการหลักประกันสุขภาพระดับเขตพื้นที่ทราบ 6.4 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของท้องถิ่น ภาคประชาคมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินงานพัฒนางานทันตสาธารณสุข ให้มีประสิทธิภาพ 6.5 ปฎิบัติหน้าที่อื่นๆตามที่ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ/ คณะอนุกรรมการหลักประกันสุขภาพระดับเขตพื้นที่มอบหมาย 34
องค์ประกอบ คณะทำงานทันตสาธารณสุขระดับ สปสช.เขต • ผู้อำนวยการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติระดับเขต หรือผู้แทน เป็นประธานคณะทำงาน • ทันตแพทย์ หรือทันตบุคลากร หรือบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ที่ปฏิบัติงานในสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (จังหวัดละ 1 ท่าน) • ผู้แทนหน่วยงานวิชาการ/หน่วยงานอื่นในพื้นที่/ผู้ทรงคุณวุฒิ ตามความเหมาะสมของแต่ละเขต • เจ้าหน้าที่ สปสช.เขต เป็นคณะทำงานและเลขานุการ 35