320 likes | 598 Views
โครงการ ความ ร่วมมือไทย - เซิร์น เพื่อการพัฒนากำลังคนและวิจัยพัฒนา ตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. ศาสตราจารย์ดร . ไพรัช ธัชยพงษ์ 16 พฤศจิกายน 2556. เซิร์น (CERN) แห่งสวิตเซอร์แลนด์ : การค้นหาอนุภาคพระเจ้า (God Particle)(1/2). สถานีตรวจวัด 6 สถานีได้แก่
E N D
โครงการความร่วมมือไทย-เซิร์นเพื่อการพัฒนากำลังคนและวิจัยพัฒนาตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ศาสตราจารย์ดร.ไพรัช ธัชยพงษ์ 16 พฤศจิกายน 2556
เซิร์น(CERN)แห่งสวิตเซอร์แลนด์:เซิร์น(CERN)แห่งสวิตเซอร์แลนด์: การค้นหาอนุภาคพระเจ้า(God Particle)(1/2) สถานีตรวจวัด 6 สถานีได้แก่ ALICE, ATLAS, CMS, LHCb, LHCfและ TOTEM ท่อเร่งอนุภาคโปรตอนภายในอุโมงค์ • เครื่องเร่งอนุภาคโปรตอน (LHC: Large Hadron Collider) • เส้นรอบวง 27 กิโลเมตรอยู่ในอุโมงค์ลึกใต้ผิวดิน 100 เมตรในพรมแดนทั้งสวิตเซอร์แลนด์และฝรั่งเศส • เร่งโปรตอนให้มีความเร็ว 99.999999 1%ของความเร็วแสงในสุญญากาศ • ลงทุน 6030 ล้านสวิสฟรังค์ • เริ่มเปิดการทดลองเมื่อก่อนฤดูหนาว ค.ศ.2008 แต่ต้องปิดทำการซ่อมแซมแม่เหล็ก • เปิดทำงานแล้วเมื่อพฤศจิกายน ค.ศ.2009 • และทดสอบสำเร็จเมื่อ 30 มีนาคม 2010
เซิร์น (CERN) แห่งสวิตเซอร์แลนด์: การค้นหาอนุภาคพระเจ้า(God Particle)(2/2) (Tuesday March 30, 2010) ALICE Detector: ตัวอย่างสำคัญของการค้นหา Higgs particle, Dark Matter, Dark Energy, Extra Dimensions
8 ธันวาคม 2546 RSIS: Role of Science in Information Society 18 พฤษภาคม 2543 DELPHI Detector, LEP 16 มีนาคม 2552 CMS Detector, LHC 13 เมษายน 2553 LHC Briefing 1.การเสด็จเยือนเซิร์น สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารีเสด็จเยือนเซิร์น4 ครั้ง
2.MoU ในการเสด็จเยือนครั้งที่ 3 เมื่อ16 มีนาคม 2552 ได้มีการลงนามใน EOI (Expression of Interest) ระหว่างสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอนประเทศไทยกับCMS (Compact MuonSolenoid) Experiment ของเซิร์น
3. การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการทำงานตามEOI • สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอนแต่งตั้งคณะอนุกรรมกรรมการความร่วม มือด้านวิชาการและวิจัยเซิร์นลงวันที่25ธันวาคม2552ประกอบ ด้วยผู้แทนจากมหาวิทยาลัยและหน่วยงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2. ร่วมกันกำหนดแผนงาน จัดหาแหล่งทุนและทรัพยากรเพื่อสนับสนุน การทำงานทั้งจากภาครัฐและเอกชน • แหล่งทุนปัจจุบันได้แก่ สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน สถาบันวิจัย ดาราศาสตร์แห่งประเทศไทย สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์ศูนย์ความเป็นเลิศทางฟิสิกส์ สสวท คปก(สกว) และบริษัท IRPC 4. ลักษณะของการสนับสนุน 4.1 การส่งนักศึกษาและครูฟิสิกส์ฤดูร้อนอย่างละ 2 คนต่อปี 4.2 การจัด CERN School Thailand และ Thailand Experimental Particle Physics Novice Workshop ทุก 2 ปี 4.3 การจัดตั้ง National eScience InfrastructureConsortium โดยแต่ละหน่วยงานได้แก่ เนคเทค/สวทชสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตรจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี สำหรับกรณีนี้แต่ละหน่วยงานต่างลงทุนและดำเนินการเอง 4.4 การให้ทุนโท/เอก 2 ประเภท (1) สสวท.และคปก.(สกว) พร้อมจะให้ทุนการศึกษาระดับโทเอกใน มหาวิทยาลัย ภายในประเทศและส่งไปทำวิจัยที่เซิร์น (2) สสวท.และกพ. สนับสนุนทุนพัฒนาอาจารย์/นักวิจัยให้ไปศึกษาใน มหาวิทยาลัยต่างประเทศที่มีความสัมพันธ์กับเซิร์น
พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่างจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกับ CMS เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2555 ณ วังสระปทุม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อนุมัติงบประมาณจำนวน 15.6 ล้านบาท เพื่อใช้ในการจัดตั้งเป็น CMS Tier-2 โดยเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2555 ได้จัดพิธีลงนามความร่วมมือระหว่างจุฬาฯ กับกลุ่มการทดลอง CMS ขึ้น ณ วังสระปทุม โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จเป็นองค์ประธานพิธีลงนาม การลงนามดังกล่าวทำให้จุฬาฯ เป็นมหาวิทยาลัยแรกในภูมิภาคอาเซียนที่มีสถานภาพเป็น CMS Full Membership และได้สิทธิ์เข้าถึงข้อมูลการทดลองของ CMS เพื่อประโยชน์ต่องานวิจัยต่อไป
พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี • สุรนารี กับ ALICE เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2555 ณ วังสระปทุม สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จเป็นองค์ประธานพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี และ A Large Ion Collider Experiment (ALICE) เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2555 ณ วังสระปทุม การลงนามดังกล่าวทำให้ มทส.เป็นมหาวิทยาลัยแรกในภูมิภาคอาเซียนที่เป็นสมาชิกกับ ALICE สามารถเข้าไปมีส่วนร่วมสร้าง บำรุงรักษา และใช้ข้อมูลจากหัววัดไอออนหนักของ ALICE ได้
Roadmaps 2021 Complete ALICE ITS Upgrade
นักศึกษาปริญญาตรี 2 คน 5กรกฏาคม-30 สิงหาคม 2553 4.โครงการคัดเลือกนักศึกษาและ ครูฟิสิกส์ฤดูร้อน (1/4) • สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอนได้มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือกนักศึกษาและครูฟิสิกส์ฤดูร้อนเมื่อ 8 กันยายน 2552 และ 25 มิถุนายน 2556 (เพิ่มเติม) • ทำหน้าที่คัดเลือกในเบื้องต้นแล้วนำความขึ้นกราบบังคมทูลสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารีเพื่อทรงคัดเลือกขั้นตอนสุดท้าย • ปัจจุบันมี 4 รุ่นแล้ว (2553-2556) นักศีกษาและครูฟิสิกส์ปี2553เข้าเฝ้าหลังกลับจากเซิร์นที่สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน ประจำปี 2553 Summer Student Programme 1.นายฐาปกรณ์ ภู่ลำพงษ์ ปริญญาตรีปีที่ 4 สาขาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปัจจุบัน: เดินทางไปศึกษาระดับปริญญาโทและเอก ณ มหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ด ตามความต้องการของสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) 2. นายอภิมุข วัชรางกูร ปริญญาตรีปีที่ 4 สาขาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปัจจุบัน: กำลังศึกษาระดับปริญญาโทและเอก ณ คิงส์คอลเลจ ประเทศสหราชอาณาจักรตามความต้องการของสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) Physics High School Teacher Programme 1.น.ส.สุพัตรา ทองเนื้อห้า จากโรงเรียนทุ่งสง จ.นครศรีธรรมราช ปัจจุบัน: ลาออกจากราชการ แต่งงานและมีครอบครัวอยู่ที่ประเทศมาเลเซีย 2. น.ส.พิมพร ผาพรม จากโรงเรียนท่าคันโทวิทยาคาร จ.กาฬสินธุ์ ปัจจุบัน: ลาศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก หลักสูตรวิทยาศาสตร์ศึกษา ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
4.โครงการคัดเลือกนักศึกษาและ ครูฟิสิกส์ฤดูร้อน (2/4) ประจำปี 2554 Summer Student Programme 1.นางสาวนันทา โสภณรัตน์ ปริญญาตรีปีที่ 4 สาขาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปัจจุบัน: กำลังศึกษาระดับปริญญาโท สาขาฟิสิกส์ ชั้นปีที่ 1 ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขณะนี้อยู่ระหว่างการปฏิบัติงานวิจัย ณ Brown University ประเทศสหรัฐอเมริกา 2.นายสุโข ก่องตาวงษ์ ปริญญาโทปีที่ 1 สาขาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ปัจจุบัน: ปฏิบัติงานในตำแหน่ง นักวิจัยผู้ช่วย ณ สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) Physics High School Teacher Programme นายอนุชา ประทุมมา จากโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ จ.นครปฐม ปัจจุบัน: กำลังศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขา Nano Science and Technology ณ มหาวิทยาลัย Sungkyunkwanประเทศเกาหลีใต้ 2. นายลือชา ลดาชาติ จากโรงเรียนสายบุรี “แจ้งประภาคาร” จ.ปัตตานี ปัจจุบัน: ย้ายมาปฏิบัติงาน ณ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
4.โครงการคัดเลือกนักศึกษาและ ครูฟิสิกส์ฤดูร้อน (3/4) ประจำปี 2555 Summer Student Programme 1.นายนวเดโช ชาญขุนทด ปริญญาตรีปีที่ 4 สาขาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปัจจุบัน: ได้รับทุนกระทรวงวิทยาศาสตร์ ด้านนาโนเทคโนโลยี ตามความต้องการของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อไปศึกษาต่อต่างประเทศในระดับปริญญาโท-เอก ขณะนี้อยู่ระหว่างการติดต่อมหาวิทยาลัย 2. นายรัฐกร แก้วอ่วม ปริญญาตรีปีที่ 4 สาขาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปัจจุบัน: กำลังศึกษาระดับปริญญาโทชั้นปีที่ 2 สาขาฟิสิกส์ ณ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Physics High School Teacher Programme 1. นายสุรศักดิ์ ศรีสุวงศ์จากโรงเรียนน้ำโสมพิทยาคม จ.อุดรธานี ปัจจุบัน: ย้ายมาประจำอยู่ที่โรงเรียนเกษมสีมาวิทยาคาร จ.อุบลราชธานี 2. นางสาวชุลีณี พาหุรัตน์จากโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา กรุงเทพมหานคร • ประจำปี 2556 • Summer Student Programme • เข้าร่วมโปรแกรม ณ เซิร์น ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม - 23 สิงหาคม 2556 • 1.นางสาวภัทราวรรณ พาสุวรรณ • ปริญญาตรีปีที่ 4 สาขาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล • ปัจจุบัน: ศึกษาต่อระดับปริญญาเอก ในสาขาวิชาฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยมหิดล • 2. นายสาโรช ลี่ดำรงวัฒนากุล • ปริญญาตรีปีที่ 4 สาขาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ • ปัจจุบัน: ศึกษาต่อระดับปริญญาโท ในสาขาวิชาฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยมหิดล • Physics High School Teacher Programme • เข้าร่วมโปรแกรม ณ เซิร์น ตั้งแต่วันที่ 31 มิถุนายน - 20 กรกฎาคม 2556 • 1. นางสาวปิยะมาศ บุญประกอบ จากโรงเรียนวัดบวรนิเวศ จ.กรุงเทพมหานคร • 2. นางสาวบุษกร การอรชัย โรงเรียนสุราษฎร์ธานี 2 จ.สุราษฎร์ธานี (ตั้งครรภ์ • จึงให้เลื่อนการเดินทางไปปี 2557)
4.โครงการคัดเลือกนักศึกษาและ ครูฟิสิกส์ฤดูร้อน (4/4):กิจกรรมก่อนและหลังเดินทางไปเข้าร่วมโครงการ ก่อนการเดินทาง:นศ. DESY / นศ. และครู CERN จะเข้ามารับการอบรม ณ สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) เพื่อเรียนรู้และทำความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการทำงานเครื่องกำเนิดแสงซินโครตรอน ตั้งแต่ปี 2546-52 จัดให้นศ.DESYประมาณ 2 สัปดาห์ หลังจากเริ่มโครงการ CERN ในปี 2553 จึงได้ให้ทั้ง นศ.DESY และนศ./ครู CERN ระหว่าง11-21 พ.ค. 53 ปี 2554-55 สถาบันฯ ได้จัดให้นศ.DESY และนศ.CERN จำนวน 4 คน เข้าร่วมกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์แสงสยาม และครู CERN2 คนเข้าร่วมโครงการอบรมครูฟิสิกส์ระหว่างวันที่ 9 - 13 พ.ค. 54 และ 14-18 พ.ค. 55 4. ปี 2556 นศ.DESY นศ.CERN และครู CERN เข้าร่วมอบรมค่ายวิทยาศาสตร์ซินโครตรอนอาเซียน 29 เม.ย. – 3 พ.ค. 56 (หมายเหตุ:ในบางปีจะมีผู้เข้าร่วมโครงการ LINDAU ด้านฟิสิกส์มาร่วมด้วย) อบรมเซิร์น เดซี ลินเดา 2553 ค่ายและอบรมครู2554 ภายหลังการเดินทาง ผู้เข้าร่วมโครงการจะไปประชา สัมพันธ์โครงการและบรรยายประสบการณ์ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมในงานดังนี้ ค่ายวิทยาศาสตร์ซินโครตรอนอาเซียน และโครงการอบรมครู วิทยาศาสตร์ ของ สซ.ซึ่งจัดขึ้นทุกปี 2. โครงการ CERN School Thailand / อนุภาคน้อย 3. โครงการอบรมครู สควค. และ พสวท. จัดโดย สสวท. 4. กิจกรรมของบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร สวทช. CERN School Thailand 2553
5. กิจกรรมวิชาการที่เกี่ยวข้องกับเซิร์น http://web.phys.sc.chula.ac.th/ • CERN School Thailand ครั้งที่ 1 (4-13 ตุลาคม 2553, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) • การประชุมสัมมนาเพื่อให้นักศึกษาไทย บุคคลที่สนใจและสื่อมวลชนได้ทราบวิชาการและความก้าวหน้าของเซิร์น • ขณะเดียวกันโน้มน้าวให้นักศึกษาได้เข้าใจ Particle Physics และ High Energy Physics เบื้องต้นและสนใจที่จะสมัครเข้าเรียนในมหาวิทยาลัยไทยระดับโท-เอก • การสัมมนาเต็มรูปแบบ 7-13 ตุลาคม 2553 และลักษณะTutorial School 4-6 ตุลาคม 2553 • บรรยายโดยอาจารย์ทั้งจากไทยและจากเซิร์น 6 คน นำโดย Prof. Emmanuel Tsesmelisและ Prof. Albert De Roeck • ครูฟิสิกส์และนักศึกษาที่ไปโครงการฤดูร้อน 2553 ทั้ง 4 คน ได้เข้าร่วมอภิปรายประสบการณ์ด้วยมีผู้เข้าร่วมทั้งสิ้น 46 คน • CERN School Thailand ครั้งที่ 2 • (30 ม.ย.-4 พ.ค. 2555, ม.เทคโนโลยีสุรนารี) • การสัมมนาเต็มรูปแบบ 7-13 ตุลาคม 2553 และลักษณะTutorial School 4-6 ตุลาคม 2553 • บรรยายโดยอาจารย์ทั้งจากไทยและจากเซิร์น12 คน นำโดย Prof. Tsesmelisและ Prof. De Roeck • ครูฟิสิกส์และนักศึกษาที่ไปโครงการฤดูร้อน 2555 ทั้ง 4 คน ได้เข้าร่วมกิจกรรมก่อนการเดินทาง โดยมีผู้เข้าร่วมทั้งสิ้น 52 คน Emmanuel Tsesmelis Albert De Roeck
2nd Thailand Experiental Particle Physics Novice Workshop 2013 (25-29 มี.ค. 2556, มหาวิทยาลัยมหิดล) • เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านฟิสิกส์อนุภาคให้กับนักศึกษาในระดับปริญญาตรี และครูวิทยาศาสตร์ • ครูฟิสิกส์และนักศึกษาที่ได้รับคัดเลือกให้เข้าร่วมโครงการฤดูร้อน 2556 ทั้ง 4 คน และนักเรียน รร.มหิดลวิทยานุสรณ์ 10 คน เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนการเดินทางมีผู้เข้าร่วมทั้งสิ้น 135 คน • 1st Thailand Experiental Particle Physics Novice Workshop 2012 (23-28 เม.ย. 2555, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) • เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านฟิสิกส์อนุภาคให้กับนักศึกษาในระดับปริญญาตรี • บรรยายโดยวิทยากร 6 คน นำโดย ดร.บุรินทร์ อัศวพิภพ • ครูฟิสิกส์และนักศึกษาที่ได้รับคัดเลือกให้เข้าร่วมโครงการฤดูร้อน 2555 ทั้ง 4 คน ได้เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนการเดินทางมีผู้เข้าร่วมทั้งสิ้น 17 คน
ขนาดของระบบเต็มรูปแบบที่แต่ละหน่วยงานของทั้ง 5 แห่งในปีค.ศ.2012 (ขณะนี้ที่ติดตั้งใช้งานแล้วเฉพาะสถาบันสารสนเทศน้ำและการเกษตรสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ) 6.โครงการเครือข่ายความร่วมมือโครงสร้างพื้นฐานด้านคอมพิวเตอร์ สมรรถนะสูงแห่งชาติ (National e-Science Infrastructure Consortium) ของ 5 พันธมิตร • WLCG :WorldwideLHC Computing Grid ความร่วมมือของศูนย์คอมพิวเตอร์ทั่วโลกกว่า 140 แห่งใน 34 ประเทศ สถานีทดลองทั้ง 4 แห่งของ LHC และโครงการกริดแห่งชาติและนานาชาติ • เนคเทค/สวทชทำหน้าเป็น ‘Tier-2’ เชื่อมต่อไปยัง ‘Tier-1’ ที่ไต้หวัน • จุฬาและสุรนารีเป็น ‘Tier-3’ ซึ่งนักวิจัยฟิสิกส์อนุภาคเรียกข้อมูลจากเนคเทคไปใช้ได้ • พระจอมเกล้าธนบุรีและสถาบันสารสนเทศน้ำและการเกษตรจะเริ่มงานวิจัยที่ไม่ใช้ข้อมูลจากเซิร์นจึงยังไม่ลงทะเบียนเป็น ‘Tier-3’ กับเซิร์น • สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารีพระราชทานดำริว่าควรใช้ประโยชน์งานอื่นที่เป็นประโยชน์ต่อประเทศด้วย • ขณะนี้มีโครงการด้านแพทย์ สภาพอากาศ สิ่งแวดล้อม เกษตรและพลังงาน เช่นการคำนวณปริมาณฝนที่จะตกใน • 3 วันล่วงหน้า การจำลองการเคลื่อนที่ของน้ำในอ่าวไทยที่ • มีผลต่อน้ำขึ้นน้ำลง และ การเกิดพายุหมุนซัดฝั่งเป็นต้น • แม้นว่าการลงนามของพันธมิตรทั้ง 5 แห่งจะเกิดขึ้นเป็นทางการเมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ.2554 ก็ตาม แต่การวางแผน การติดตั้งระบบคอมพิวเตอร์และการวิจัยของบางหน่วยงานก็ได้ดำเนินมาก่อนหน้านั้นแล้ว พิธีลงนามพันธมิตร วันที่ 27 กันยายน พ.ศ.2554
การลงนามบันทึกความความร่วม (MOU) กับ Worldwide LHC Computing Grid (WLCG) • เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2556 ได้มีการลงนามบันทึกความความร่วม (MOU) ระหว่างเซิร์น ในฐานะ “ห้องปฏิบัติการเจ้าภาพ” (Host Laboratory) ในการดำเนินงานของ Worldwide LHC Computing Grid (WLCG) กับ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ในนามของภาคีโครงสร้างพื้นฐานระดับชาติด้าน e-Science (National e-Science Infrastructure Consortium) เพื่อแสดงเจตจำนงและความตั้งใจในการดำเนินความร่วมมือสร้างเครือข่าย WLCG โดยการร่วมจัดตั้งศูนย์คอมพิวเตอร์ระดับ 2 ขึ้นในประเทศไทย และประเทศไทยจะเป็นประเทศแรกในภูมิภาคอาเซียนที่ได้เข้าร่วมเครือข่าย WLCG โดยพิธีลงนามความร่วมมือครั้งนี้ ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นองค์ประธาน ในพิธีลงนามดังกล่าว ณ วังสระปทุม
7. หลักสูตรฟิสิกส์อนุภาคและฟิสิกส์พลังงานสูงและการส่งนักศึกษาและนักวิจัยไทยระดับโทเอกไปทำงานวิจัยที่เซิร์น (1/2) • สาขาฟิสิกส์อนุภาค • ดร.นรพัทธ์ ศรีมโนภาษ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ University of Antwerp ปัจจุบันปฏิบัติงานวิจัย ณ CMS ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศึกษาวิจัยเรื่องอนุภาคสื่อแรงโน้มถ่วง (Graviton) ที่อาจเกิดขึ้นและเดินทางในมิติอื่น ๆ สสารมืดในเครื่องเร่งอนุภาคตามงานวิจัยเกี่ยวกับฟิสิกส์ดาราศาสตร์ และอนุภาคฮิกส์ที่สลายตัวเป็นอนุภาคที่ไม่สามารถตรวจวัดได้โดยตรง • นายทุตานนท์ สินธุประสิทธิ์ อดีตนักศึกษาทุน พสวท. ปัจจุบันอยู่ระหว่างศึกษาปริญญาเอก ณ Brown University ประเทศสหรัฐอเมริกา ทำวิทยานิพนธ์เกี่ยวข้องกับ axigluon/coloron/hyper-pion และหลุมดำขนาดจิ๋ว (microscopic black hole) ณ CMS และ Fermi National Accelerator Laboratory รัฐอิลลินอยส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา • นางสาวชญานิตย์ อัศวตั้งตระกูลดี นักศึกษาทุนพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี กำลังศึกษา ณ มหาวิทยาลัยปักกิ่ง ประเทศจีน ปัจจุบันปฏิบัติงานวิจัย ณ CMS (ทำงานวิจัยหลักร่วมกับ Imperial College London, University of Bristol, กลุ่มวิจัยจากอินเดีย และดร.นรพัทธ์ฯ ในการศึกษาอนุภาคฮิกส์ที่สลายตัวเป็นอนุภาคที่ไม่สามารถตรวจวัดได้โดยตรง) • นางสาวนันทา โสภณรัตน์ (อดีตนักศึกษาภาคฤดูร้อนเซิร์น) กำลังศึกษาในระดับปริญญาโทสาขาฟิสิกส์พลังงานสูง ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีแผนงานวิจัยทางด้านการพัฒนาเครื่องตรวจวัดอนุภาค CMS ร่วมกับ BrownUniversity นรพัทธ์ ศรีมโนภาษ ทุตานนท์ สินธุประสิทธิ์ ชญานิษฐ์ อัศวตั้งตระกูลดี
7. หลักสูตรฟิสิกส์อนุภาคและฟิสิกส์พลังงานสูงและการส่งนักศึกษาและนักวิจัยไทยระดับโทเอกไปทำงานวิจัยที่เซิร์น (2/2) • สาขาเครื่องเร่งอนุภาค • นายฐาปกรณ์ ภู่ลำพงษ์(อดีตนักศึกษาภาคฤดูร้อนเซิร์น) บุคลากรของสถาบันสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) ได้รับทุนพัฒนาบุคลากรจากกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อไปศึกษาปริญญาเอกด้านเทคโนโลยีเครื่องเร่งอนุภาค ปัจจุบันศึกษาอยู่ ณ มหาวิทยาลัยอ๊อกซ์ฟอร์ด ประเทศสหราชอาณาจักร • นายจตุพร พันตรี ได้รับทุนกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตามความต้องการของสถาบันสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) เพื่อศึกษาปริญญาเอกด้านเทคโนโลยีเครื่องเร่งอนุภาค ปัจจุบันศึกษา ณ มหาวิทยาลัยอ๊อกซ์ฟอร์ด ประเทศสหราชอาณาจักร • นายฐกลวรรธน์ จันทร์วัฒนะ ได้รับทุนกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตามความต้องการของสถาบันวิจัยแสงซินโคร-ตรอน (องค์การมหาชน) เพื่อศึกษาปริญญาเอกด้านเทคโนโลยีเครื่องเร่งอนุภาค ปัจจุบันศึกษา ณ มหาวิทยาลัยอ๊อกซ์ฟอร์ด ประเทศสหราชอาณาจักร โดยมี Prof. Emmanuel Tsesmelisเป็นหนึ่งในอาจารย์ที่ปรึกษา จตุพร พันตรี ฐาปกรณ์ ภู่ลำพงษ์ ฐกลวรรธน์ จันทร์วัฒนะ
8. ค่าใช้จ่ายในการจัดส่งนักศึกษา 2 คนและครูสอนฟิสิกส์ 2 คนเข้าร่วมโครงการนักศึกษาและครูสอนฟิสิกส์ภาคฤดูร้อนเซิร์น (1/2) - ค่า Living Expense แตกต่างกัน เป็นผลเนื่องมาจากอัตราแลกเปลี่ยนที่แตกต่างกัน โดยในปี 2553 อัตราแลกเปลี่ยน CHF อยู่ที่ 28.4 บาท แต่ในปี 2554 อัตราแลกเปลี่ยน CHF อยู่ที่ 36.23 บาท - เซิร์นรับผิดชอบ น.ศ. 1 คน ครู 1 คน โครงการฯ รับผิดชอบ
8.เงินสนับสนุนโครงการนักศึกษาและครูสอนฟิสิกส์ภาคฤดูร้อนเซิร์น(2/2)8.เงินสนับสนุนโครงการนักศึกษาและครูสอนฟิสิกส์ภาคฤดูร้อนเซิร์น(2/2)
9.โครงการจัดส่งนักเรียนไปศึกษาดูงานที่เซิร์น9.โครงการจัดส่งนักเรียนไปศึกษาดูงานที่เซิร์น Prof. Emmanuel Tsesmelisได้กราบบังคมทูลต่อสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสนอให้จัดส่งนักเรียนไทยไปศึกษาดูงานที่เซิร์น สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีรับสั่งให้ดำเนินการคัดเลือกนักเรียนที่มีศักยภาพ เพื่อเดินทางไปศึกษาดูงานที่เซิร์น โดยโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ ซึ่งมีความพร้อม ณ ขณะนั้น ได้รับดำเนินงานสนองพระราชดำริ โดยคัดเลือกนักเรียนที่มีความเหมาะสม จำนวน 10 คน เดินทางไปศึกษาดูงานที่เซิร์น ในช่วงระหว่างวันที่ 4-11 กรกฎาคม 2556 ซึ่งก่อนการเดินทางนักเรียนผู้ผ่านการคัดเลือก ได้เข้าร่วมกิจกรรม 2nd Thailand Experimental Particle Physics Novice Workshop 2013 (อนุภาคน้อย) ที่จัดขึ้นโดยมหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมด้านเนื้อหาทางด้านฟิสิกส์อนุภาคด้วย
10.สรุปและแผนอนาคต 1.โครงการคัดเลือกนักศึกษาและครูฟิสิกส์ฯโครงการ CERN School Thailandและ Thailand Experimental Particle Physics Novice Workshop สามารถดำเนินการต่อไปได้อย่างต่อเนื่องยั่งยืนเพราะมีผู้สนใจเข้าร่วมและมีเงินทุนสนับสนุนเพียงพอ 2.โครงการ National eScience Infrastructure Consortium มีความยั่งยืนเช่นกันเพราะ(i)มิได้พึ่งพางบประมาณจากรัฐบาลโดยตรงแต่ผ่านมหาวิทยาลัยและหน่วยงานวิจัย(ii)ผู้บริหารของทั้ง 5 พันธมิตรสามารถใช้คอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์อื่นของมหาวิทยาลัย/หน่วยวิจัยได้ด้วย 3.ขณะนี้มีหลักสูตรฟิสิกส์พลังงานสูงฟิสิกส์อนุภาคและเครื่องเร่งอนุภาคที่จุฬาและสุรนารี(ร่วมกับสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน) ต่อไปควรพยายามชักชวนให้มหาวิทยาลัยอื่นเช่นเชียงใหม่ มหิดล นเรศวรเป็นต้นได้เข้ามาร่วมซึ่งมหาวิทยาลัยดูแลค่าใช้จ่ายตนเอง 4.สสวท.คปก.(สกว.)และกพ. สามารถสนับสนุนทุนการศึกษานักเรียนทุนทั้งในประเทศและต่างประเทศแก่มหาวิทยาลัยได้ 5.จุฬาและสุรนารีได้ดำเนินการเพื่อเข้าเป็นสมาชิกของ CMS Experiment และ ALICE Experiment ตามลำดับของขั้นตอน ประโยชน์ได้แก่(i)การเข้าถึงข้อมูลผ่านWLCGและข้อมูลห้องสมุดออนไลน์(ii)การมีชื่อองค์กรและนักวิจัยปรากฏอยู่ในสิ่งตีพิมพ์ของเซิร์นและ(iii)การเข้าร่วมประชุมวิชาการกับเซิร์นปีละ 4ครั้งเป็นต้น
ตัวอย่างคณาจารย์ด้านฟิสิกส์อนุภาคและฟิสิกส์พลังงานสูงตัวอย่างคณาจารย์ด้านฟิสิกส์อนุภาคและฟิสิกส์พลังงานสูง 1. อ.ดร.อภิสิทธิ์ อึ้งกิจจานุกิจ (จุฬาฯ) - Field Theory 2. ผศ.ดร.อรรถกฤต ฉัตรภูติ (จุฬาฯ) - Quantum Field Theory 3. ผศ.ดร.ชิโนรัตน์ กอบเดช (มทส.) - Standard Model Physics, Heavy IonPhysics 4. อ.ดร.บุรินทร์ อัศวพิภพ (จุฬาฯ) - Experimental Particle Physics 5. ดร.นรพัทธ์ ศรีมโนภาษ (จุฬาฯ) - Monte Carlo for Particle Physics 6. ผศ.ดร.ปิยบุตร บุรีคำ (จุฬาฯ) - Beyond Standard Model Physics 7. ผศ.ดร.บุรินทร์ กำจัดภัย (มน.) - Cosmology
ค่าใช้จ่ายการเข้าเป็นสมาชิกค่าใช้จ่ายการเข้าเป็นสมาชิก จุฬากำลังดำเนินการเพื่อเข้าเป็นสมาชิกของ CMS Experiment ค่าใช้จ่ายราว 150,000 สวิสฟรังค์(ราว 4.5 ล้านบาท)ทยอยจ่าย 4 ปี และสุรนารีจะเข้าเป็นสมาชิกของ ALICE Experiment ค่าใช้จ่ายราว 50,000 สวิสฟรังค์(ราว 1.5 ล้านบาท) ทยอยจ่าย 4 ปีได้เช่นกัน ประโยชน์ได้แก่(i)การเข้าถึงข้อมูลจากการชนอนุภาคผ่านWLCGและข้อมูลห้องสมุดออนไลน์เพื่องานวิจัย(ii)การมีชื่อองค์กรและนักวิจัยปรากฏอยู่ในสิ่งตีพิมพ์ของเซิร์น(ซึ่งต้องจ่ายรายปีอีกราว 10,000 สวิสฟรังค์หรือราว300,000บาทต่อปี)และ(iii)การเข้าร่วมประชุมวิชาการกับเซิร์นปีละ4ครั้ง (1 สวิสฟรังค์ประมาณ 30 บาท)