240 likes | 476 Views
การชี้แจงหลักเกณฑ์การประเมิน “ การบริหารความเสี่ยง ” ประจำปีบัญชี 2550 และ 2551. การชี้แจงหลักเกณฑ์การประเมินการบริหารความเสี่ยงปีบัญชี 2550. 1. รายละเอียดเกณฑ์ย่อยประเด็น IT Security Room ที่ได้ปรับใหม่. ระดับที่ 4 : การบริหารความเสี่ยงเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มกับองค์กร.
E N D
การชี้แจงหลักเกณฑ์การประเมิน “การบริหารความเสี่ยง” ประจำปีบัญชี 2550 และ 2551
การชี้แจงหลักเกณฑ์การประเมินการบริหารความเสี่ยงปีบัญชี 2550 1. รายละเอียดเกณฑ์ย่อยประเด็น IT Security Room ที่ได้ปรับใหม่ ระดับที่ 4 : การบริหารความเสี่ยงเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มกับองค์กร การชี้แจงหลักเกณฑ์การประเมินการบริหารความเสี่ยงปีบัญชี 2551 1. การประเมินด้าน ITG เพื่อรองรับ พรบ.ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 พระราชกฤษฎีกากำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ พ.ศ. 2549 และ (ร่าง) พรฎ. กำหนดวิธีการแบบ (มั่นคง) ปลอดภัยในการประกอบธุรกรรม ระดับที่ 4 : การบริหารความเสี่ยงเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มกับองค์กร
ระดับที่ 5 • ปลูกฝังให้การบริหารความเสี่ยงเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมนำไปสู่การสร้าง Value Creation : • กระบวนการบริหารความเสี่ยงเป็นกิจกรรมประจำวันของทุกหน่วยงานและสัมพันธ์กับค่าตอบแทน • มีการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดีตามเกณฑ์ • การบริหารความเสี่ยงเป็นการสนับสนุนการบริหารเพื่อสร้างสรรค์มูลค่าให้กับองค์กร (Value Creation) • ระดับที่ 4 • การบริหารความเสี่ยงที่สร้างมูลค่าเพิ่มแก่องค์กร: • - มีกลยุทธ์การบริหารความเสี่ยงที่เชื่อมโยงกับการกำหนดนโยบาย/กลยุทธ์/การวางแผน/การลงทุน • มีการสนับสนุนการบริหารฯเพื่อเพิ่มมูลค่า • มีการทบทวนและปรับปรุงการบริหารความเสี่ยงสม่ำเสมอ • มีการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดีตามเกณฑ์ • ผลการบริหารความเสี่ยงที่เกิดขึ้นใกล้เคียงหรือดีกว่าแผน • จัดให้มีบรรยากาศและวัฒนธรรมที่สนับสนุนการบริหารความเสี่ยง • ระดับที่ 3 • มีการเชื่อมโยงและบูรณาการความเสี่ยงกับITG : • มีการกำหนด risk appetite และ risk tolerance ครอบคลุมความเสี่ยงที่เป็น • S-O-F-C • มีการบริหารความเสี่ยงที่เป็นกลยุทธ์หรือการดำเนินงานที่ต่อเนื่องทั้งองค์กร • มีการบริหารความเสี่ยงแบบบูรณาการ • มีการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดีตามเกณฑ์ ฯ • ผลการบริหารความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจริงเป็นไปตามแผนฯ ระดับที่ 2 การบริหารความเสี่ยงเบื้องต้นที่มีระบบ: -มีการบริหารเป็น กลยุทธ์ระยะสั้น - มีกระบวนการบริหารความเสี่ยงแยกออกเป็นส่วนๆ - มีคู่มือการบริหารความเสี่ยงตามเกณฑ์ -ผลการบริหารความเสี่ยงที่เกิดขึ้นด้อยกว่าแผน และไม่ต่างจากอดีตที่ผ่านมาก่อนมีการบริหารความเสี่ยง • ระดับที่ 1 • การบริหารความเสี่ยงน้อยมาก : • - บริหารเชิงรับเป็นส่วนใหญ่ • มีแนวทางการบริหารความเสี่ยงที่ไม่เป็นระบบ • ไม่มีคณะทำงานเพื่อจัดการความเสี่ยงในรูปแบบบูรณาการ • ไม่มีคู่มือการบริหารความเสี่ยง การเจริญเติบโตอย่างยั่งยืนสู่เป้าหมายขององค์กร การเพิ่มมูลค่าของผู้มีผลประโยชน์ร่วม การวัดระดับการบริหารความเสี่ยง
ระดับที่1การบริหารความเสี่ยงน้อยมากระดับที่1การบริหารความเสี่ยงน้อยมาก • มีแนวทางการบริหารความเสี่ยงในเชิงรับ/ในระดับเบื้องต้น • มีแนวทางการบริหารความเสี่ยงที่ยังไม่เป็นระบบ • ไม่มีคณะทำงานเพื่อจัดการความเสี่ยงในรูปแบบบูรณาการ • ไม่มีการจัดทำคู่มือการบริหารความเสี่ยง
ระดับที่2การบริหารความเสี่ยงเบื้องต้นที่มีระบบระดับที่2การบริหารความเสี่ยงเบื้องต้นที่มีระบบ • การบริหารความเสี่ยงของรส.เป็นกลยุทธ์ระยะสั้น • รส.มีกระบวนการบริหารความเสี่ยงออกเป็นส่วนๆ • รส.มีการจัดทำคู่มือการบริหารความเสี่ยงที่มีคุณสมบัติของคู่มือที่ดีครบถ้วน • ผลการบริหารความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจริงด้อยกว่าแผนฯและไม่ต่างจากอดีตที่ผ่านมาก่อนที่จะทำการบริหารความเสี่ยง
ระดับที่3การเชื่อมโยงและบูรณาการความเสี่ยงกับ ITG • มีการดำเนินงานครบถ้วนตามที่กำหนดในระดับที่2 • มีการกำหนด Risk Appetite และ Risk Tolerance โดยครอบคลุมความเสี่ยงที่เป็น S-O-F-C โดยการกำหนด Risk Appetite และ Risk Tolerance ต้องสอดคล้องกับเป้าหมายขององค์กร • มีการบริหารความเสี่ยงที่เป็นกลยุทธ์หรือการดำเนินงานที่ต่อเนื่องทั้งองค์กร • มีการบริหารความเสี่ยงแบบบูรณาการโดยต้องผ่านคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงให้ความเห็นชอบ • มีการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการที่ดีตามที่กำหนด • มีผลการบริหารความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจริงส่วนใหญ่เป็นไปตามแผนฯ
ระดับที่4การบริหารความเสี่ยงที่สร้างมูลค่าเพิ่มแก่องค์กรระดับที่4การบริหารความเสี่ยงที่สร้างมูลค่าเพิ่มแก่องค์กร • มีการดำเนินงานครบถ้วนตามที่กำหนดในระดับที่3 • มีกลยุทธ์การบริหารความเสี่ยงที่เชื่อมโยงกับการกำหนดนโยบาย/กลยุทธ์/การวางแผน/การลงทุนของรส. • มีการสนับสนุนการบริหารฯเพื่อเพิ่มมูลค่าขององค์กร • มีการทบทวนการบริหารความเสี่ยงอย่างสม่ำเสมอและทำการปรับปรุงเมื่อจำเป็น • การจัดให้มีบรรยากาศและวัฒนธรรมที่สนับสนุนการบริหารความเสี่ยง • มีการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการที่ดีตามที่กำหนด • มีผลการบริหารความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจริงดีกว่าแผนฯ
ระดับที่5การปลูกฝังให้การบริหารความเสี่ยงเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมระดับที่5การปลูกฝังให้การบริหารความเสี่ยงเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ที่นำไปสู่การสร้างสรรค์มูลค่าให้แก่องค์กร (Value Creation) • มีการดำเนินงานครบถ้วนตามที่กำหนดในระดับที่4 • กระบวนการบริหารความเสี่ยงเป็นกิจกรรมประจำวันของทุกหน่วยงานและเป็นส่วนสำคัญของการพิจารณาผลตอบแทนและ/หรือความดีความชอบ • การบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการที่ดีตามเป้าหมายที่กำหนด • การบริหารความเสี่ยงเป็นการสนับสนุนการบริหารเพื่อสร้างสรรค์มูลค่าให้กับองค์กร (Value Creation)
ระดับ4-การบริหารความเสี่ยงที่สร้างมูลค่าเพิ่มแก่องค์กรระดับ4-การบริหารความเสี่ยงที่สร้างมูลค่าเพิ่มแก่องค์กร น้ำหนัก(ร้อยละ) 1.มีการดำเนินงานครบถ้วนตามที่กำหนดในระดับที่3 2.บริหารความเสี่ยงเชื่อมโยงกับการกำหนดนโยบาย/กลยุทธ์/การวางแผน/การลงทุน 10 3. มีการบริหารความเสี่ยงและมีการสนับสนุนการบริหารฯเพื่อเพิ่มมูลค่าฯ (Value Enhancement) 3.1ปฏิบัติตามแผนบริหารความเสี่ยงประจำปีครบถ้วน 10 3.2มีการวิเคราะห์/บริหารให้บรรลุเป้าหมายการเงินและมีการวิเคราะห์เพื่อสร้างมูลค่าขององค์กร (Value Creation) 10 3.3มีการสื่อสารถึงคณะกรรมการตรวจสอบและผู้บริหารระดับสูงสุดอย่างต่อเนื่อง 5 4.มีการทบทวนการบริหารความเสี่ยงอย่างสม่ำเสมอและทำการปรับปรุงเมื่อจำเป็น 10 5.การจัดให้มีบรรยากาศและวัฒนธรรมที่สนับสนุนการบริหารความเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง 5 6.การบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการที่ดี 6.1 Board มีการประเมินผลฝ่ายบริหารในการจัดการกับความเสี่ยงและปัญหาที่อาจเกิดขึ้นทางด้าน IT 6.1.1มีศูนย์คอมพิวเตอร์สำรองนอกสถานที่ทำการ (Off-site Back up) 6.1.2มี Business Continuity Management : BCM 6.1.3มี IT Security Room ตามมาตรฐาน EN 1047-2หรือUL72 หรือ มาตรฐานอื่นที่อ้างอิงได้ว่าเป็น มาตรฐานสากล โดยต้องเป็นมาตรฐานเกี่ยวกับความปลอดภัย และการควบคุมทาง Physical 5 5 5 6.2 Board มีการจัดการที่ดีถึงกลยุทธ์ทางด้าน IT เช่นตั้ง IT Strategy Committee 10 6.3ฝ่ายบริหารมีการประเมินศักยภาพของ IT และการจัดการอย่างสม่ำเสมอ 10 6.4ระบบ e-DOC (Electronic Department Operation Center) ใช้งานได้และข้อมูลมีด้าน S-O-F-C 5 7.ผลที่เกิดขึ้นใกล้เคียงหรือดีกว่าแผนและดีขึ้นจากอดีต 10 รวม 100
สรุปการปรับปรุงเกณฑ์ IT Security Room ใน “ระดับ 4” ปี 2550 ผ่าน: EN/UL/มาตรฐานความปลอดภัยที่เป็นสากล ที่เกี่ยวกับความปลอดภัย และการควบคุมทาง Physical ที่อ้างอิงได้ ปรับเกณฑ์ IT Security Room 2550 รส. Critical Infrastructure - 0.1 ถ้าไม่มี ผ่าน แต่ติดลบ รส. ที่ไม่ใช่ Critical Infrastructure - 0.05 “Critical Infrastructure” ยึดตามเกณฑ์ของ NECTEC
การพิจารณา Critical Infrastructure ตามเกณฑ์ของ NECTEC • 1. ด้านบุคคลที่ได้รับผลกระทบ • กระทบผู้ใช้จำนวนประมาณน้อยกว่า 10,000 คน = Low • กระทบผู้ใช้จำนวนประมาณ10,000 - 100,000 คน = Moderate • กระทบผู้ใช้จำนวนประมาณมากกว่า 100,000 คน= High • 2. ด้านความปลอดภัยในชีวิตและสุขภาพของผู้ใช้งาน • ไม่ได้รับผลกระทบด้านความเจ็บป่วย จัดเป็นระดับLow • หากบาดเจ็บ หรือ ป่วย 1 คนจัดเป็นระดับ Moderate • หากเสียชีวิตเพียง 1 คนจัดเป็นระดับ High • 3. ด้านมูลค่าความเสียหายโดยตรงของผู้ใช้บริการ • หากเสียหายทางธุรกิจต่อวันมูลค่าประมาณ 1 ล้านบาท จัดเป็นระดับ Low • หากเสียหายทางธุรกิจต่อวันมูลค่าระหว่างประมาณ 1– 100 ล้านบาทจัดเป็นระดับ Moderate • หากเสียหายทางธุรกิจต่อวันมูลค่าเกินกว่า 100 ล้านบาท จัดเป็นระดับ High • 4. ด้านผลกระทบทางด้านความมั่นคงและความสงบเรียบร้อยของประเทศ • มี/ไม่มี โดย แต่ละองค์กรต้องวิเคราะห์ Impact ตาม 4parameter นี้
1. การประเมินด้าน ITG เพื่อรองรับ พรบ.ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 พระราชกฤษฎีกากำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ พ.ศ. 2549 และ (ร่าง) พรฎ. กำหนดวิธีการแบบ (มั่นคง) ปลอดภัยในการประกอบธุรกรรม ระดับที่ 4 : การบริหารความเสี่ยงเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มกับองค์กร ทั้งนี้ (ร่าง) พรฎ. กำหนดวิธีการแบบ (มั่นคง) ปลอดภัยในการประกอบธุรกรรมประยุกต์โดยอาศัย มาตรฐาน BS-7799, ISO/IEC 17799
2000 edition 2005 edition การแก้ไขปรับปรุงมาตรฐาน BS-7799, ISO/IEC 17799
เพิ่มเกณฑ์การจัดทำแผนเพื่อรองรับพรบ.และ พรฎ. ใน “ระดับ 4” ปี 2551 • วัดการจัดทำแผนให้แล้วเสร็จภายใน พ.ค. 2551และการดำเนินงานตามแผนเพื่อรองรับ พรบ. และ พรฎ. • รส. สามารถเลือกที่จะทำแผนสำหรับ ระบบหลัก เลย หรือ ระบบรอง/สนับสนุน ก่อน เพื่อเป็นการศึกษานำร่องก่อนที่จะทำระบบหลักจริง • ถ้า รส. เลือกทำ ระบบรอง/สนับสนุน ก่อน จะต้องทำแผนเพื่อให้ ระบบรอง/สนับสนุน แล้วเสร็จภายใน 2 ปี (ปี 2552) ทั้ง 11 Domains ทั้งนี้ แผนจะต้องรวมถึงแผนสำหรับ ระบบหลัก เพื่อให้แล้วเสร็จภายใน 2 ปี นับตั้งแต่ ระบบรอง/สนับสนุน แล้วเสร็จ • ถ้า รส. เลือกทำ ระบบหลัก เลย จะต้องทำแผนเพื่อให้แล้วเสร็จภายใน 2 ปี (ปี 2552) ทั้ง 11 Domains เช่นกัน • การประเมินปี 2551 จะประเมินว่า รส. จัดทำแผน แล้วเสร็จภายใน พ.ค. 2551และสามารถดำเนินงานตามแผน ได้หรือไม่ • “ระบบหลัก” พิจารณาจากภารกิจของ รส. หรือ จากระบบที่วิเคราะห์ตาม BCM/BCP
แผนภาพแสดงหลักการของการประเมินปี 2551 2550255125522554 ระบบหลัก ถ้าเลือกระบบหลัก ทำแผน ภายใน พ.ค. 51 Start ระบบหลัก ระบบรอง/สนันสนุน ถ้าเลือกระบบรอง วางแผนสำหรับ ระบบหลัก
การกำหนดน้ำหนักของการจัดทำแผน ISO 27001 ใน “ระดับ 4” ปี 2551 ระดับ4-การบริหารความเสี่ยงที่สร้างมูลค่าเพิ่มแก่องค์กร น้ำหนัก(ร้อยละ) 6.การบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการที่ดี 5 5 5 6.1 Board มีการประเมินผลฝ่ายบริหารในการจัดการกับความเสี่ยงและปัญหาที่อาจเกิดขึ้นทางด้าน IT 6.1.1มีศูนย์คอมพิวเตอร์สำรองนอกสถานที่ทำการ (Off-site Back up) 6.1.2มี Business Continuity Management : BCM 6.1.3มี IT Security Room ตามมาตรฐาน EN 1047-2หรือUL72 หรือ มาตรฐานอื่นที่อ้างอิงได้ว่าเป็น มาตรฐานสากล โดยต้องเป็นมาตรฐานเกี่ยวกับความปลอดภัย และการควบคุมทาง Physical 10 6.3ฝ่ายบริหารมีการประเมินศักยภาพของ IT และการจัดการอย่างสม่ำเสมอ 15 6.4การจัดทำแผนและดำเนินการตามแผนเพื่อรองรับ พรบ. และ พรฎ. ด้านความปลอดภัยทางอิเล็คโทรนิกส์ • โดยการประเมิน 6.2 (Board มีการจัดการที่ดีถึงกลยุทธ์ทางด้าน IT เช่น ตั้ง IT Strategy Committee)และ 6.4 (ระบบ e-DOC (Electronic Department Operation Center) ใช้งานได้และข้อมูลมีด้าน S-O-F-C) เดิม กำหนดให้เป็นเงื่อนไข • ให้ รส. ยังคงต้องดำเนินการอยู่ หากไม่ดำเนินการตามจะถูกปรับคะแนนลง 0.10 คะแนน
ระดับ1-การบริหารความเสี่ยงน้อยมากระดับ1-การบริหารความเสี่ยงน้อยมาก 1.มีแนวทางบริหารความเสี่ยงในเชิงรับ/ในระดับเบื้องต้น 1.1รส.ขาดการบริหารจัดการความเสี่ยง 1.2รส.มีการดำเนินการเบื้องต้นในการสร้างความเข้าใจในการบริหารความเสี่ยง 2.แนวทางการบริหารความเสี่ยงยังไม่เป็นระบบ 2.1รัฐวิสาหกิจมีองค์ประกอบหลักของการบริหารความเสี่ยงที่ดีไม่ครบถ้วน(องค์ประกอบหลักของการบริหารความเสี่ยงที่ดีควรประกอบด้วยนโยบายและกลยุทธ์การบริหาร ความเสี่ยงการกำหนดวัตถุประสงค์การบ่งชี้ความเสี่ยงการประเมินความเสี่ยงการจัดการ ความเสี่ยงและการติดตามผลและการรายงาน) 2.2รัฐวิสาหกิจไม่มี Risk Based Internal Control 2.3รัฐวิสาหกิจมีองค์ประกอบครบถ้วนแต่ขาดการจัดการต่อความเสี่ยงที่มีลำดับสูง 2.4รัฐวิสาหกิจขาดความสอดคล้องกันระหว่างองค์ประกอบหลักตามข้อ2.1 3.รัฐวิสาหกิจไม่มีคณะทำงานเพื่อจัดการความเสี่ยงในระดับองค์กร 4.รัฐวิสาหกิจไม่มีคู่มือการบริหารความเสี่ยง
ระดับ2-การบริหารความเสี่ยงเบื้องต้นที่มีระบบระดับ2-การบริหารความเสี่ยงเบื้องต้นที่มีระบบ น้ำหนัก (ร้อยละ) 1.การบริหารความเสี่ยงของรัฐวิสาหกิจเป็นกลยุทธ์ระยะสั้น 1.1โครงสร้างคณะทำงานเป็นลักษณะเฉพาะกาล/ยังไม่ทำงานเป็นรูปธรรม 10 1.2ไม่แสดงถึงการดำเนินงานให้การบริหารความเสี่ยงเป็นไปในระยะยาวหรือปลูกฝังอยู่ในองค์กร 10 2.ระบุความเสี่ยงจากต้นเหตุมีกระบวนการบริหารความเสี่ยงแยกเป็นส่วนๆ 2.1มีองค์ประกอบหลักครบถ้วนแต่ยังมีการบริหารความเสี่ยงเป็นส่วนๆ(ไม่มี Risk Map) 20 2.2การดำเนินงานบริหารความเสี่ยงเป็นการดำเนินงานเฉพาะส่วนหรือฝ่ายไม่ใช่ในระดับองค์กร 20 3.รส.มีการจัดทำคู่มือการบริหารความเสี่ยงเบื้องต้น 15 4.ผลการบริหารความเสี่ยงด้อยกว่าแผนฯและไม่ต่างจากอดีตที่ผ่านมาก่อนที่จะทำการบริหารความเสี่ยง 25 รวม 100
ระดับ3: การเชื่อมโยงและบูรณาการความเสี่ยงกับ ITG น้ำหนัก(ร้อยละ) 1.มีการดำเนินงานครบถ้วนตามที่กำหนดในระดับที่2 2. มีการกำหนด Risk Appetite และ Risk Tolerance 10 3.การบริหารความเสี่ยงที่ต่อเนื่องทั้งองค์กร 3.1มีหน่วยงานที่รับผิดชอบและมีการทำงานเป็นรูปธรรม 10 3.2มีการดำเนินงานให้การบริหารความเสี่ยงเป็นไปในระยะยาวหรือปลูกฝังอยู่ในองค์กร 10 4.มีการบริหารความเสี่ยงแบบบูรณาการ 4.1พิจารณาถึงนโยบาย/กลยุทธ์/เป้าหมาย/แผนงาน/โครงการต่างๆ 10 4.2เป็นการดำเนินงานในระดับองค์กรโดยพิจารณาถึงความสัมพันธ์และผลกระทบภายในองค์กร 10 5.การบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการที่ดี 5.1ฝ่ายบริหารจัดให้มีคณะทำงานหรือผู้รับผิดชอบด้าน IT และ ITG 5 5.2 Board ติดตามดูแลฝ่ายบริหารให้ใช้ประโยชน์จาก IT เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ 10 5.3 Audit Com กำกับดูแลและติดตามรวมถึงเสนอแนะแก่ฝ่ายตรวจสอบด้านการจัดการ IT 10 5.4 Audit Com ทบทวนกฎบัตร (Charter) เกี่ยวกับการจัดการ IT 5 5.5ระบบ e-DOC (Electronic Department Operation Center) แล้วเสร็จ 5 6.ผลบริหารความเสี่ยงไม่เป็นตามแต่ดีขึ้นจากอดีต 15 รวม 100
ระดับ5: การบริหารความเสี่ยงเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมที่นำไปสู่การสร้างสรรค์มูลค่า (Value Creation) น้ำหนัก (ร้อยละ) 1.มีการดำเนินงานครบถ้วนตามที่กำหนดในระดับที่4 2. การบริหารความเสี่ยงเป็นกิจกรรมประจำวันและเป็นส่วนที่สำคัญของการพิจารณาผลตอบแทน 2.1แผนงานการบริหารความเสี่ยงสอดคล้องกับ Performance Evaluation ขององค์กร 2.2มีแผนในการประเมินผลของบุคคลหรือสายงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารความเสี่ยง 2.3 กำหนดเป้าหมายร่วมกันแต่ละหน่วยงานเพื่อการบริหารความเสี่ยงขององค์กรโดยรวมและมีการติดตามต่อเนื่อง 10 10 20 3.การบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการที่ดี 3.1 Board สร้างความมั่นใจถึงสมดุลระหว่างการลงทุนกับความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น 20 3.2 Board สร้างเกณฑ์วัดคุณภาพงานและผลสำเร็จของการจัดการด้าน IT 20 4. มีการบริหารความเสี่ยงและมีการสนับสนุนการบริหารฯเพื่อสร้างสรรค์มูลค่าให้กับองค์กร (Value Creation) ซึ่งมูลค่า (Value) ขององค์กรอาจพิจารณาได้จาก Value ที่รัฐวิสาหกิจระบุไว้รวมถึง การที่องค์กรมีการบริหารความเสี่ยงของการสูญเสีย “โอกาสของธุรกิจ” การที่องค์กรสามารถพลิกผัน เหตุการณ์/วิกฤติให้เป็นโอกาสทางธุรกิจหรือการที่องค์กรมีการบริหารความเสี่ยงเพื่อสร้างความ มั่นใจถึงการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) เพื่อการสร้างสรรค์/นวัตกรรม (Innovation) 20 รวม 100