610 likes | 893 Views
โครงการปัจฉิมนิเทศสมาชิก กบข. และอบรมเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน กบข. ประจำปี 2553. วัตถุประสงค์การจัดตั้ง กบข. เพื่อเป็นหลักประกันการจ่ายเงินบำเหน็จบำนาญ และให้ประโยชน์ตอบแทนการรับราชการ เมื่อออกจากราชการ 2. เพื่อส่งเสริมการออมทรัพย์ของสมาชิก เพื่อจัดสวัสดิการและสิทธิประโยชน์อื่น
E N D
โครงการปัจฉิมนิเทศสมาชิก กบข. และอบรมเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน กบข. ประจำปี 2553
วัตถุประสงค์การจัดตั้ง กบข. • เพื่อเป็นหลักประกันการจ่ายเงินบำเหน็จบำนาญ • และให้ประโยชน์ตอบแทนการรับราชการ • เมื่อออกจากราชการ • 2. เพื่อส่งเสริมการออมทรัพย์ของสมาชิก • เพื่อจัดสวัสดิการและสิทธิประโยชน์อื่น • ให้แก่สมาชิก
1 7 ส่งเงินสะสม 3 % ของเงินเดือน หรือเงินสะสมส่วนเพิ่มเป็นประจำทุกเดือน สมาชิก กบข. สมาชิก / ทายาท รับเงินตามสิทธิ ด้วยวิธีการที่ระบุไว้ 6 กบข. ตรวจสอบข้อมูลและเอกสารต่างๆ 5 หน่วยงานต้นสังกัด ตรวจสอบสิทธิและเอกสารต่างๆ กระบวนการของเงินสมาชิก 2 เบิกเงินสมทบ ชดเชย และนำส่งเงิน พร้อมข้อมูลมาที่ กบข. หน่วยงานต้นสังกัด 3 ตรวจสอบข้อมูลเงินรับจากหน่วยงาน แจ้งผลผ่านใบแจ้งยอด กบข. นำเงินไปลงทุนตามกรอบ นโยบาย และจัดสรรผลประโยชน์ให้กับสมาชิก 4 สมาชิก / ทายาท ยื่นแบบขอรับเงิน และเอกสารต่างๆ ตรวจสอบรายการเคลื่อนไหวบัญชีสมาชิกทาง GPF Web Service เมื่อสมาชิกพ้นสมาชิกภาพ
ความหมายของเงินประเภทต่าง ๆ เงินบำเหน็จ เงินบำนาญ เงินสะสม เงินสมทบ เงินประเดิม เงินชดเชย 5
ความหมายของเงินประเภทต่าง ๆ เงินบำเหน็จ คือ เงินที่รัฐจ่ายให้กับสมาชิกเพียงครั้งเดียวเมื่อพ้นสมาชิกภาพ เงินเดือนเดือนสุดท้าย x เวลาราชการ
ความหมายของเงินประเภทต่าง ๆ เงินบำนาญ คือ เงินที่รัฐจ่ายให้แก่สมาชิกเป็นรายเดือน เมื่อพ้นสมาชิกภาพตามสูตรที่กำหนด เงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย x เวลาราชการ 50 แต่ไม่เกินร้อยละ 70 ของเงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย
ความหมายของเงินประเภทต่าง ๆ เงินสะสม คือ เงินที่สมาชิกส่งสะสมเข้ากองทุนทุกครั้ง ที่มีการจ่ายเงินเดือน เงินสมทบ คือ เงินที่รัฐจ่ายสมทบให้สมาชิกที่ส่งเงินสะสม เข้ากองทุน
ความหมายของเงินประเภทต่าง ๆ เงินประเดิม คือ เงินที่รัฐนำส่งเข้าบัญชีสมาชิก กบข. ซึ่งเป็นข้าราชการ อยู่ก่อนวันที่ 27 มีนาคม 2540 เงินชดเชย คือ เงินที่รัฐนำส่งเข้ากองทุนให้แก่สมาชิกทุกครั้งที่มีการจ่าย เงินเดือน เพื่อชดเชยบำนาญที่ลดลง จากการเปลี่ยนแปลงสูตรเงินบำนาญสำหรับสมาชิก กบข.
สิทธิประโยชน์ เมื่อพ้นสมาชิกภาพ
การสิ้นสุดสมาชิกภาพ สมาชิกภาพของสมาชิกสิ้นสุดลง เมื่อผู้นั้นออกจากราชการ สั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน ออกจากราชการเพื่อไปปฏิบัติงานตามพระราชกฤษฎีกาและให้นับเวลาระหว่างนั้นเต็มเวลาราชการ ยกเว้น
สมาชิกจะได้รับเงินอะไรบ้างสมาชิกจะได้รับเงินอะไรบ้าง เงินที่จะได้รับจาก กบข. สิทธิ กระทรวงการคลัง + + 2 เงินสะสม เงินสมทบ 1 ไม่มีสิทธิ รับบำเหน็จบำนาญ - ผลประโยชน์ของเงินทั้ง 2 ประเภท + + 2 เงินสะสม เงินสมทบ 1 บำเหน็จ บำเหน็จ ผลประโยชน์ของเงินทั้ง 2 ประเภท + + 1 2 เงินสะสม เงินสมทบ บำนาญ บำนาญ กบข. 3 4 + เงินประเดิม(ถ้ามี) เงินชดเชย + ผลประโยชน์ของเงินทั้ง 4 ประเภท 12
สิทธิประโยชน์และเงินที่จะได้รับเมื่อพ้นสมาชิกภาพสิทธิประโยชน์และเงินที่จะได้รับเมื่อพ้นสมาชิกภาพ
สิทธิประโยชน์และเงินที่จะได้รับเมื่อพ้นสมาชิกภาพสิทธิประโยชน์และเงินที่จะได้รับเมื่อพ้นสมาชิกภาพ
สิทธิประโยชน์และเงินที่จะได้รับเมื่อพ้นสมาชิกภาพสิทธิประโยชน์และเงินที่จะได้รับเมื่อพ้นสมาชิกภาพ เหตุออก จากราชการ เวลาราชการ (เวลารวมวันทวีคูณ) สิทธิรับบำเหน็จบำนาญ เงินที่จะได้รับจาก กบข. กระทรวงการคลัง เสียชีวิต (ปกติ) ไม่ถึง 1 ปี - สะสม + สมทบ +ผลประโยชน์ - 1 ปีขึ้นไป บำเหน็จ ตกทอด สะสม + สมทบ +ผลประโยชน์ บำเหน็จตกทอด (เงินเดือนเดือนสุดท้าย xเวลาราชการ) เสียชีวิตเพราะความผิดร้ายแรง - สะสม + สมทบ +ผลประโยชน์ - เสียชีวิตระหว่างรับบำนาญ บำเหน็จ ตกทอด - 1.) บำเหน็จตกทอด (30 เท่าของบำนาญ) + 2.) เงินช่วยพิเศษ (3 เท่าของบำนาญ)
สิทธิประโยชน์และเงินที่จะได้รับเมื่อพ้นสมาชิกภาพสิทธิประโยชน์และเงินที่จะได้รับเมื่อพ้นสมาชิกภาพ เหตุออก จากราชการ เวลาราชการ (เวลารวมวันทวีคูณ) สิทธิรับบำเหน็จบำนาญ เงินที่จะได้รับจาก กบข. กระทรวงการคลัง โอนไปหน่วยงานของรัฐที่ไม่ใช่ประเภทข้าราชการตาม พ.ร.บ. - สะสม + สมทบ +ผลประโยชน์ - ไล่ออก - สะสม + สมทบ +ผลประโยชน์ - ออกรับเบี้ยหวัด - สะสม + สมทบ +ผลประโยชน์ เบี้ยหวัด ย้ายประเภทจากรับเบี้ยหวัด เป็นรับบำเหน็จบำนาญ (ต่อเนื่องจากออกรับเบี้ยหวัด) เลือกบำนาญ ประเดิม(ถ้ามี) + ชดเชย+ ผลประโยชน์ บำนาญ กบข. หรือเลือกบำเหน็จ - บำเหน็จ
เงินที่สมาชิกได้รับจากกองทุนเมื่อสิ้นสุดเงินที่สมาชิกได้รับจากกองทุนเมื่อสิ้นสุด สมาชิกภาพ เงินที่ได้รับจาก กบข. ต้องเสียภาษีหรือไม่ ได้รับยกเว้น กรณีที่ออกจากราชการด้วยเหตุ ดังนี้ 1. เหตุสูงอายุ - อายุ 60 ปี หรือลาออกเมื่อครบ 50 ปีบริบูรณ์แล้ว - มีเวลาราชการ 25 ปีขึ้นไป แต่อายุไม่ครบ 50 ปีบริบูรณ์ และได้ลาออกจากราชการตามโครงการที่จัดตั้งขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรี 2. เหตุทุพพลภาพ 3. เหตุทดแทน 4. เสียชีวิต
1.ใบแจ้งยอดประจำปี ตรวจสอบยอดเงินได้อย่างไร 2.ระบบตอบรับอัตโนมัติ โทร.1179 กด 8 3.ATM ของธนาคารกรุงไทย 4. GPF Web Service ผ่าน www.gpf.or.th
ขั้นตอนง่าย ๆ ในการเข้าใช้บริการ GPF Web Service สำหรับสมาชิก กบข.
บริการ GPF Web Service เมนู GPF WEB SERVICE 20
บริการ GPF Web Service เลขที่สมาชิก กบข. (เลขเดียวกับบัตรประชาชน) ใส่รหัสผ่าน • รหัสผ่าน คือ ตัวเลข 8 หลัก ที่ กบข. แจ้งไว้ในใบแจ้งยอดเงินปี 2549 • กรณีรหัสผ่านสูญหาย / ลืม ติดต่อศูนย์บริการข้อมูลสมาชิก โทร.1179 กด 6
GPF Web Service มีบริการอะไรบ้าง 1. เปลี่ยนรหัสผ่านใหม่ 2. ตรวจสอบ / แก้ไขข้อมูลส่วนบุคคล 3. ตรวจสอบข้อมูลยอดเงิน ณ ปัจจุบัน 4. พิมพ์ใบแจ้งยอดเงิน 5. ติดตามเอกสารขอรับเงินคืน (กรณีพ้นสมาชิกภาพ) • 6. กิจกรรมสมาชิก • พิมพ์คูปองส่วนลดตั๋วหนัง • แจ้งขอมีบัตรสมาชิก กบข. 7. ติดต่อ กบข.
การขอรับเงินคืน จาก กบข.
ขั้นตอนการขอรับเงินคืนขั้นตอนการขอรับเงินคืน ส่วนราชการต้นสังกัด แจ้งข้อมูลและเหตุการสิ้นสุดสมาชิกภาพของสมาชิกมายัง กบข. และแจ้งสมาชิก/ทายาท ผู้มีสิทธิรับเงินยื่นแบบขอรับเงิน สมาชิก/ทายาทผู้มีสิทธิรับเงิน ยื่นแบบขอรับเงินและหลักฐานต่างๆ ส่งสำเนาจดหมายแจ้ง ไปยังสมาชิก/ทายาท 30 วัน ส่วนราชการต้นสังกัด ตรวจสอบสิทธิและเอกสารหลักฐานต่างๆ เอกสาร ไม่ถูกต้อง 15 วัน กบข.ตรวจสอบข้อมูลและ เอกสารหลักฐานต่างๆ ถูกต้องครบถ้วน กรมบัญชีกลาง ตรวจสอบข้อมูลสำหรับ คำนวณเงินประเดิม กรณีรับ บำนาญ ธนาคาร จ่ายเงินโดยเช็ค/ธนาณัติ/โอนเงิน 7 วัน สมาชิก/ทายาทผู้มีสิทธิรับเงิน ได้รับเงินตามวิธีที่ระบุในแบบขอรับเงิน
5 ทางเลือกของสมาชิกพ้นสมาชิกภาพ 1. 2. 3. 4. 5. ขอฝากเงินที่มี สิทธิได้รับให้ กองทุน บริหารต่อ ขอรับเงิน ที่มีสิทธิได้ รับทั้งจำนวน ขอโอนเงินที่มี สิทธิได้รับไปยัง กองทุนสำรอง เลี้ยงชีพหรือ กองทุนอื่นที่มี วัตถุประสงค์ เพื่อการออกจาก งานหรือการ ชราภาพ ขอรับเงินที่มี สิทธิได้รับบางส่วน ส่วนที่เหลือ ขอทยอยรับ ขอทยอยรับเงิน ที่มีสิทธิได้รับ
เงื่อนไข การใช้สิทธิให้ กบข.บริหารต่อหรือทยอยรับเงินตามข้อ 3-5 จะต้องมีเงินในบัญชีไม่ต่ำกว่า 35,000 บาท ณ วันที่ยื่นคำขอ โดยมีเอกสารหลักฐานและข้อมูลถูกต้องครบถ้วน การขอทยอยรับเงิน ต้องรับเป็นรายงวดๆ ละเท่าๆ กัน โดยอาจเลือกรับเป็นราย 1 เดือน 3 เดือน 6 เดือน หรือ 1 ปี ก็ได้แต่ต้องมีจำนวนเงินขั้นต่ำรายงวด ไม่ต่ำกว่างวดละ 3,000 บาท
เงื่อนไข (ต่อ...) กบข. จะโอนเงินเข้าบัญชีธนาคารเพียงวิธีเดียวเท่านั้นและหักค่าธรรมเนียมธนาคารที่เกิดขึ้นจริงจากยอดที่สมาชิกได้รับทั้งจำนวนหรือรายงวด สามารถแจ้งเปลี่ยนแปลงจำนวนเงิน หรือความถี่ในการขอรับเงินคืน ได้ปีละ 1 ครั้ง ตามปีปฏิทิน โดยใช้ “แบบแจ้งเปลี่ยนแปลงข้อมูลผู้แจ้งความประสงค์ให้กองทุนบริหารต่อหรือขอทยอยรับเงิน”
ข้อควรรู้ นโยบายการบริหารเงินที่ให้กองทุนบริหารต่อจะนำไปลงทุนในแผนหลักซึ่งจะมีการลงทุนตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง ผลประโยชน์ที่จะได้รับจากการบริหารต่อสามารถผันแปรไปตามผลการดำเนินงานของ กบข. และสภาวะเศรษฐกิจของ ประเทศ
เงื่อนไขทางภาษี - กรณีออกด้วยเหตุสูงอายุ ทดแทน ทุพพลภาพ เงินที่ได้รับจากการพ้นสมาชิกภาพ ได้รับยกเว้นภาษี ผลประโยชน์ที่เกิดจากการบริหารต่อ ไม่ได้รับการยกเว้นภาษี เงินที่ได้รับจากการพ้นสมาชิกภาพ และ ผลประโยชน์ที่เกิดจากการบริหารต่อ ไม่ได้รับการยกเว้นภาษี ข้อควรรู้ (ต่อ...) - กรณีออกด้วยเหตุอื่นๆ (ไม่ใช่เหตุสูงอายุ ทดแทน ทุพพลภาพ)
เอกสารหลักฐานการขอรับเงินเอกสารหลักฐานการขอรับเงิน กรณีรับบำนาญ กรณีไม่มีสิทธิรับบำเหน็จบำนาญ หรือรับบำเหน็จ กรณีเสียชีวิต
กรณีรับบำนาญ • แบบ กบข. รง 008/1/2551 • สำเนาคำสั่งหรือประกาศออกจากราชการ • พร้อมเจ้าหน้าที่รับรองสำเนาถูกต้อง • สำเนาใบแนบหนังสือสั่งจ่ายบำนาญสมาชิก • กบข. พร้อมเจ้าหน้าที่รับรองสำเนาถูกต้อง • สำเนาสมุดบัญชีเงินฝากหน้าแรก • พร้อมสมาชิกหรือเจ้าหน้าที่รับรองสำเนาถูกต้อง • (กรณีเลือกวิธีโอนเงินเข้าบัญชี) • แบบ กบข. บต 001/2551 (กรณีฝากเงินให้กองทุนบริหารต่อหรือขอทยอยรับ) 31
กรณีไม่มีสิทธิรับบำเหน็จบำนาญหรือรับบำเหน็จกรณีไม่มีสิทธิรับบำเหน็จบำนาญหรือรับบำเหน็จ • แบบ กบข. รง 008/1/2551 • สำเนาคำสั่งหรือประกาศออกจากราชการ • พร้อมเจ้าหน้าที่รับรองสำเนาถูกต้อง • สำเนาสมุดบัญชีเงินฝากหน้าแรก • พร้อมสมาชิกหรือเจ้าหน้าที่รับรองสำเนา • ถูกต้อง (กรณีเลือกวิธีโอนเงินเข้าบัญชี) • แบบ กบข. บต 001/2551 • (กรณีฝากเงินให้กองทุนบริหารต่อหรือขอทยอยรับ) 32
กรณีสมาชิกเสียชีวิต กรณีเป็นผู้จัดการมรดก • แบบ กบข. รง 008/2/2551 • สำเนาคำสั่งศาลตั้งผู้จัดการมรดก • ฉบับเจ้าหน้าที่ศาลรับรองสำเนาถูกต้อง • สำเนาสมุดบัญชีเงินฝากหน้าแรก • พร้อมผู้จัดการมรดกหรือเจ้าหน้าที่ • รับรองสำเนาถูกต้อง (กรณีเลือกวิธีโอนเงินเข้าบัญชี) • หลักฐานเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี) 33
กรณีสมาชิกเสียชีวิต กรณีเป็นทายาทโดยธรรม • แบบ กบข. รง 008/2/2551 • สำเนาใบมรณบัตร พร้อมทายาทคนหนึ่ง • คนใดรับรองสำเนาถูกต้อง • แบบบันทึกสอบปากคำ (ป.ค.14) • ฉบับปรับปรุง (มีนาคม 2551) • สำเนาใบทะเบียนสมรส พร้อมคู่สมรส • รับรองสำเนาถูกต้อง (กรณีมีคู่สมรส) • สำเนาสมุดบัญชีเงินฝากหน้าแรก พร้อมทายาทเจ้าของบัญชี • หรือเจ้าหน้าที่รับรองสำเนาถูกต้อง (กรณีเลือกวิธีโอนเงินเข้าญชี) • หลักฐานเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี) 34
แบบบันทึกสอบปากคำ (ป.ค.14) กบข. ได้ปรับปรุงแบบบันทึกสอบปากคำ (ป.ค.14) สำหรับทายาทสมาชิก กบข. เมื่อมีนาคม 2551เพื่อให้มีข้อมูลครอบคลุมยิ่งขึ้นตามที่กฎหมายกำหนด จัดพิมพ์แบบบันทึกสอบปากคำ (ป.ค.14) ฉบับปรับปรุงมีนาคม 2551 ได้จาก www.gpf.or.th หรือเว็บไซต์ กรมการปกครอง www.dopa.go.thในเว็บเพ็จของกองคลัง
วิธีรับเงินคืนจาก กบข. • เช็ค • ธนาณัติ • โอนเงินเข้าบัญชี
วิธีรับเงินคืนจาก กบข. เช็ค กบข. จ่ายเป็นเช็คขีดคร่อมสั่งจ่ายเข้าชื่อบัญชีของสมาชิก / ทายาท ผู้มีสิทธิรับเงิน / ผู้จัดการมรดกของสมาชิกเท่านั้น โดยเช็คมีระยะเวลา 6 เดือน นับจากวันที่ที่ระบุในเช็ค ธนาณัติ กบข. จะจ่ายเป็นธนาณัติให้แก่สมาชิก / ทายาทผู้มีสิทธิรับเงิน โดย จะต้องนำธนาณัติไปขึ้นเงิน ณ ที่ทำการไปรษณีย์ตามที่ระบุไว้ ในธนาณัติ ภายในระยะเวลา 4 เดือน
วิธีรับเงินคืนจาก กบข. การโอนเงินเข้าบัญชี - กรณีสมาชิกเป็นผู้ขอรับเงิน ชื่อบัญชีเงินฝากจะต้องเป็นชื่อสมาชิกเท่านั้นหรือ กรณีสมาชิกถึงแก่ความตาย ชื่อบัญชีเงินฝากจะต้องเป็นชื่อผู้จัดการหรือ ทายาทเจ้าของบัญชีเท่านั้น (ไม่อนุญาตให้ใช้บัญชีร่วม) - โอนได้เฉพาะบัญชี“ออมทรัพย์”หรือ“กระแสรายวัน”เท่านั้น - โอนได้เฉพาะธนาคารที่เป็นสมาชิกในระบบ SMART (ธนาคารพาณิชย์ของไทยทุกแห่ง) - แนบสำเนาสมุดเงินฝากของผู้มีสิทธิรับเงิน เฉพาะหน้าที่มีเลขที่บัญชี พร้อมรับรองสำเนาถูกต้องมาพร้อมกับแบบขอรับเงิน
ตัวอย่างการกรอก แบบขอรับเงินจากกองทุน แบบแจ้งความประสงค์ให้กองทุนบริหารต่อ ฯ 39
แบบ กบข. รง 008/1/2551 (ด้านหน้า) 40
แบบ กบข. รง 008/1/2551 (ด้านหน้า) 41
แบบ กบข. รง 008/1/2551 (ด้านหลัง) 42
แบบ กบข. บต 001/2551 (ด้านหน้า) 43
แบบ กบข. บต 001/2551 (ด้านหน้า) 44
แบบ กบข. บต 001/2551 (ด้านหลัง) 45
สำเนาคำสั่งออกต้องประกอบด้วย หน้าคำสั่งออกและรายละเอียดแนบท้าย หากมีการแก้ไขข้อความในแบบขอรับเงินและเอกสารต่าง ๆ ให้ขีดฆ่า และลงนามกำกับทุกครั้ง เอกสารที่เป็นสำเนาต้องใช้ลายเซ็นจริงเท่านั้น ควรใช้หมึกสีน้ำเงินในการเซ็นเอกสาร ควรระบุหมายเลขโทรศัพท์ที่ติดต่อได้จริงของสมาชิก / ทายาท และชื่อ เจ้าหน้าที่หน่วยงานต้นสังกัด เพื่อความสะดวกในการติดต่อ แบบขอรับเงินคืน พยานต้องลงนามให้ครบทั้ง 2 คน ข้อควรระวัง...การยื่นเรื่องขอรับเงิน 46
แบบฟอร์มสำหรับสมาชิกพ้นสมาชิกภาพแบบฟอร์มสำหรับสมาชิกพ้นสมาชิกภาพ กบข. จพ 001/2551 แบบแจ้งสมาชิกพ้นสมาชิกภาพ แบบขอรับเงินจากกองทุน กรณีสมาชิกเป็นผู้ขอรับเงิน กบข. รง 008/1/2551 แบบขอรับเงินจากกองทุน กรณีสมาชิกถึงแก่ความตาย กบข. รง 008/2/2551
แบบฟอร์มสำหรับสมาชิกพ้นสมาชิกภาพแบบฟอร์มสำหรับสมาชิกพ้นสมาชิกภาพ แบบแจ้งความประสงค์ ให้กองทุนบริหารต่อหรือ ขอทยอยรับเงิน กบข.บต 001/2551 แบบแจ้งเปลี่ยนแปลงข้อมูล ผู้แจ้งความประสงค์ ให้กองทุนบริหารต่อหรือ ขอทยอยรับเงิน กบข.บต 002/2551
ช่องทางการขอรับแบบขอรับเงินคืนจากกองทุนช่องทางการขอรับแบบขอรับเงินคืนจากกองทุน • สั่งพิมพ์หรือดาวน์โหลดได้จาก www.gpf.or.th • บริการกรอกแบบฟอร์มอิเลคทรอนิกส์ จาก www.gpf.or.thเมนู ข้อมูลสมาชิก / แบบฟอร์ม / บริการกรอกแบบฟอร์มอิเลคทรอนิกส์ • ขอรับแบบฟอร์มผ่านเครื่องโทรสาร โดยโทร.1179 กด 5 • แจ้งความประสงค์ที่ฝ่ายทะเบียนจ่าย โทร. 0-2636-1000 • ต่อ 245-246 ในวันและเวลาทำการ
การจัดส่งเอกสารขอรับเงินคืนการจัดส่งเอกสารขอรับเงินคืน • ส่วนราชการต้นสังกัดตรวจสอบสิทธิ เอกสารหลักฐาน และการลงนาม • จัดส่งเอกสารหลักฐานได้ตั้งแต่วันที่สมาชิกพ้นสภาพ เป็นต้นไป • จัดส่งเอกสารหลักฐานมาที่ ส่วนงานการจ่ายเงินคืนสมาชิกพ้นสภาพ ตู้ ปณ. 12 ปณ. สาทร กรุงเทพฯ 10341