390 likes | 766 Views
การประเมินผลการดำเนินงาน ควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล 5 มิถุนายน 2551. คณะกรรมการการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
E N D
การประเมินผลการดำเนินงานควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล 5 มิถุนายน 2551 คณะกรรมการการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล รพ. โพธาราม
วิสัยทัศน์ เราจะเป็นโรงพยาบาลที่มีระบบการดูแล ผู้รับบริการ ผู้ให้บริการและสิ่งแวดล้อม คุณภาพ เป็นที่พึงพอใจทั้งผู้ให้ และผู้รับบริการ
พันธกิจ 1. ดำเนินการเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาลอย่างต่อเนื่อง 2. วิเคราะห์ข้อมูลจากการเฝ้าระวังโดยวิธีการทางระบาด 3. ใช้ข้อมูลจากการเฝ้าระวังในการติดสินใจดำเนินการพัฒนางาน IC 4. บุคลากรทางสุขภาพปฏิบัติงานได้โดยยึดหลักUniversal Pre caution 5. พัฒน่าและฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกัน และควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาลอย่างสม่ำเสมอ
นโยบาย 1. สร้างเสริมความปลอดภัยของผู้รับบริการ ผู้ให้บริการ และสิ่งแวดล้อมจากการดำเนินการ 2. ดำเนินการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาลของผู้รับบริการทั้งภายในและภายนอกโรงพยาบาลครอบคลุมถึงผู้ป่วย หลังจำหน่ายกลับบ้าน 3. ประสานข้อมูล เชื้อก่อโรคที่สำคัญ และ การใช้ยาต้านจุลชีพที่เหมาะสม แก่ทีมนำทางคลินิก และผู้เกี่ยวข้อง
เป้าหมาย • เป็นโรงพยาบาลคุณภาพ • อัตราการติดเชื้อ ในผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงลดลง • 2. บุคลากรมีความปลอดภัยในการทำงาน • 3. สิ่งแวดล้อมทุกด้าน เป็นไปตามเกณ์ที่กำหนด • 2. ให้บริการ ประสาน ให้ความรู้ ในการจัดระบบการบริการสุขภาพ ทั้งในโรงพยาบาลและชุมชน • 3. นำความรู้ทางวิชาการมาเป็นพื้นฐานการแก้ปัญหาการติดเชื้อ
กระบวนการหลัก 1.นโยบาย 3.ป้องกันและควบคุม 5.วิชาการ -พัฒนา -สุขศึกษา/ปชส -จัดทำสื่อ จัดระบบข้อมูล ข่าวสาร EBP/Research • -Sterile/Clean • -Antiseptic/Disin. • -Control Std. • น้ำดื่ม/น้ำใช้/น้ำเสีย • การจัดการขยะ • ควบคุมพาหะนำโรค • ควบคุมสุขาภิบาลอาหาร 4.สอบสวน -ค้นหา - หาแนวทาง -รายงาน 2.เฝ้าระวัง -Patients -HCW -ENV 6.ประเมินผล
นโยบาย • การกำหนดนโยบายที่มีความชัดเจน • จัดให้มีรูปแบบการสื่อสารหลายช่องทาง • หัวหน้างาน • ICWN • จดหมายข่าว • บอร์ด ป้ายประกาศ Intranet • ประเมินความเข้าใจ • ทีมนิเทศ • การAudit ทีม ICWN
การเฝ้าระวังการติดเชื้อการเฝ้าระวังการติดเชื้อ • กลุ่มผู้ป่วย • เพิ่มเรื่อง Post discharge • Surgery IIH,Appendectomy (100%) • Gyn-OBS Episiotomy,C/S (30% V-card) • Ortho ORIF (78%) • Emergency แผลเย็บ (82.3% ) • ดัวชี้วัดอื่นๆ
ดัชนีชี้วัดและเป้าหมายดัชนีชี้วัดและเป้าหมาย • ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2548 2549 2550 2551 • อัตราการติดเชื้อ • 1 Incident dencity < 3*1000day 2.30 2.83 3.58 2.6 • 2 อัตราความชุก < 7 % 5 6.2 5.6 • 3 ประสิทธิภาพการเฝ้าระวัง > 90 % 76/71 86/74 81/100 • อัตราการติดเชื้อเฉพาะตำแหน่ง • CAUTI(*1000 DV) ลดลง 20% 6.03 4.3 7.85 8.9 • VAP(*1000 DV) ลดลง 10% 9.94 11.52 10 10.02
ดัชนีชี้วัดและเป้าหมายดัชนีชี้วัดและเป้าหมาย • ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2548 2549 2550 2551 • อัตราการติดเชื้อ < 3*1000 D 2.30 2.83 3.58 2.6 • อัตราการติดเชื้อแผลผ่าตัด < 5% 0.18 0.45 0.38 รอ • Endoph. 0 1.75(1) 5.75(3) 1.19(7) 0 • Appendectomy 0 0 0.5 0 0 • C/S 0 0 0 0 0 • ตำแหน่งการติดเชื้อ • LRI ลดลง 10% 38(18.54%) 57(23.46%) 90(29.41%) 56(36.1) • UTI ลดลง 10% 29(14.15%) 30(12.35%) 40(13.07%) 14(9.03) • SST ลดลง 10%(10.73%) 24(9.88%) 10(3.27%) 0
กิจกรรมการลดการติดเชื้อเฉพาะตำแหน่งจากการใส่อุปกรณ์กิจกรรมการลดการติดเชื้อเฉพาะตำแหน่งจากการใส่อุปกรณ์ 1. Catheter associated UTI 2.Ventilater associated Pneumonia
ปัญหาที่พบและความเสี่ยงปัญหาที่พบและความเสี่ยง • 1.อัตราการติดเชื้อที่เกิดในโรงพยาบาลที่พบบ่อย • High risk • High Volume • 2. การติดเชื้อดื้อยา • 3. การเกิดอุบัติเหตุเข็มทิ่มตำ • 4. Isolation Precaution/Universal Precaution • 5.การปฏิบัติตามคู่มือการป้องกัน และควบคุมฯ
intervention intervention
กิจกรรม • 1.การสร้างมาตรฐานการดูแลผู้ป่วยที่ใส่สายสวนปัสสาวะทุกราย • 2.การประชุมชี้แจงทีมตัวแทนจากหอผู้ป่วย • 3.นำ Evident base /ลดวันใส่สายสวน • 4. กำหนดกิจกรรมการนิเทศ ติดตาม ประเมิน • 5.ให้ความรู้ และทบทวนปัญหา • 6.การนิเทศ และให้ข้อมูลย้อนกลับ • 7.สรุปผลและนำเสนอข้อมูล กับทีมทำงานและทีมบริหาร • 8.การส่งต่อผู้ดูแลต่อที่บ้าน
กิจกรรม • 1.ทบทวนกลุ่มผู้ป่วยที่พบการติดเชื้อ • 2.จัดทำโครงการเฝ้าระวังเฉพาะตำแหน่งในกลุ่มที่มีความเสี่ยง • 3.ประชุมสร้างความตระหนักแก่ทีมทำงาน(ICU, NICU) • 4.ร่วมวิเคราะห์หาปัจจัย และจัดทำกิจกรรมเพื่อลดการติดเชื้อ • (การกำหนดมาตรฐานการดูแล และ การดูแลสุขวิทยาในช่องปากโดยใช้วิธีแปรงฟัน) • 5.นำเสนอผลการดำเนินงาน เพื่อขยายผลในหน่วยอื่น • 6.ลดวันใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจ
Clinical Tracer • วัตถุประสงค์ ไม่เกิด Endophthalmitis • การวิเคราะห์สาเหตุ ความรู้ความเข้าใจในการดูแลตัวเอง(การให้ข้อมูล) • กระบวนการพัฒนา • 1.การดูแลก่อนผ่าตัด (OPD / IPD) • 2.การดูแลระหว่างผ่าตัด (OR/ แพทย์) • 3.การดูแลหลังผ่าตัด • 3.การดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
การเฝ้าระวังการติดเชื้อการเฝ้าระวังการติดเชื้อ • กลุ่มเจ้าหน้าที่ • ภาวะสุขภาพ ร้อยละ 89 ของเจ้าหน้าที่ ที่ตรวจสุขภาพ พบกลุ่มโรคเรื้อรัง ร้อยละ20 กิจกรรม โดยรวม กลุ่มเสี่ยง • การเจ็บป่วยจากการทำงาน 18 รายที่เกิดอุบัติเหตุจากงาน 6 รายพบว่าเกิดจากการสวมปลอกเข็มกลับ
ดัชนีชี้วัดและเป้าหมายด้านบุคลากรดัชนีชี้วัดและเป้าหมายด้านบุคลากร • ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2548 2549 2550 2551 • การติดเชื้อจากการปฏิบัติงาน • เข็มทิ่มตำ 0 13 8 18 10 • การติดเชื้อวัณโรค 0 0 0 1 0 • การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ 0 0 0 0 0 • การปฏิบัติตาม UP/IP • การดูแลตามแนวทาง >80% 45% 56% 75% รอ • การล้างมือ >60% 35/63 30/70 25/85 รอ
การเฝ้าระวังการติดเชื้อการเฝ้าระวังการติดเชื้อ • สิ่งแวดล้อม (ผลการดำเนินงาน) • งานจ่ายกลาง(คณะกรรมการพัฒนาหน่วยจ่ายกลาง/ปรับพื้นที่/CSSD) • งานซักฟอก ((Zone / การซ่อมผ้า/การประเมินผ้า) • งานโภชนาการ (Zone /การล้างมือ/ อาหารปั่น/อาหารเฉพาะโรค) • งานกายภาพบำบัด (การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ) • หน่วยงานสนับสนุนต่างๆ (เปล คนขับรถ ยาม สนาม โรงพักศพ แพทย์แผนไทย) • ความรู้ และการปฏิบัติ การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ การใช้อุปกรณ์ป้องกัน น้ำยาทำลายเชื้อ • งานทันตกรรม(การจัดการของปราศจากเชื้อ น้ำยาต่างๆ) • งานห้องผ่าตัด (ทบทวนZone การจัดการ Scope)
การเฝ้าระวังการติดเชื้อการเฝ้าระวังการติดเชื้อ • สิ่งแวดล้อม (ผลการดำเนินงาน) • งานเภสัชกรรม (Zone การผลิต และการจัดเก๊บน้ำยา) • การจัดการขยะ (ปรับประเภทขยะ ผลการสุ่มขยะติดเชื้อ ปี51(ร้อยละ3.54) เดิม6.4 • Sub-contract (บ.ไทยเอ็นไว และบ.วอนเพียร) • ผลการตรวจ และเฝ้าระวังค่ามาตรฐานต่างๆในสิ่งแวดล้อม
ดัชนีชี้วัดและเป้าหมาย ด้านสิ่งแวดล้อม • ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2548 2549 2550 ประสิทธิภาพของ การทำปราศจากเชื้อ 100% 100 100 100 (สถานีอนามัย) อาหารปั่น ตามเกณฑ์ * * * น้ำดื่ม/ใช้/เสีย ตามเกณฑ์ * * * การจัดการขยะ < 5% 58.3% 6.5% อื่นฯ
การสอบสวนโรค • การเกิดการcontaminateของ S.epidermidis • การเกิดการระบาดของเจ้าหน้าที่จากการสัมผัส • (หิดปี 50 และ เริม ปี 51) • การเกิดการติดเชื้อ A.baumaniiMDR ใน ICU • ผลการตรวจผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง • ผลการสุ่มสิ่งแวดล้อม • ผลการสุ่มน้ำยาที่ใช้ • กำหนดแนวการป้องกัน และการรายงาน รวมทั้งการดักจับผู้ป่วย
การพัฒนาความรู้เจ้าหน้าที่การพัฒนาความรู้เจ้าหน้าที่ • ICN • ICWN • ระดับปฏิบัติงาน • พยาบาล • ผู้ช่วยเหลือ • เปล • อื่นๆ • Sub-contract
ผลการประเมินความรู้ • ICWN ระดับความรู้อยู่ที่ร้อยละ 75-91 ระดับสมรรถนะอยู่ที่ ร้อย80-96 พบว่าปัญหาคือเรื่องการติดตามผล การนิเทศ และสิ่งแวดล้อมในหน่วยงาน กิจกรรม ดูงาน Auditภายใน และการประเมินจากอาจารย์ภายนอก ผลการดำเนินงาน (รอ)
ผลการประเมิน • เจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติการ • กิจกรรม • พยาบาล การดูแลผู้ป่วยคาสายสวนปัสสาวะ การเจาะเลือด การทำแผล • ผู้ช่วยเหลือ การดูแลอุปกรณ์ปราศจากเชื้อ การทำความสะอาดผู้ป่วย • คนงาน การทำความสะอาดพื้น การใช้น้ำยา และอุปกรณ์ป้องกัน • เปล การทำความสะอาด • อื่นๆ • การล้างมือในทุกหน่วยงาน และผู้ป่วย (ร้อยละ80)
การส่งเสริมการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อการส่งเสริมการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ • การใช้ความรู้ • การรณรงค์ล้างมือ/การจัดหาอุปกรณ์(ที่ล้างมือ ผ้าเช็ดมือ อ่าง แอลกอฮอร์) • การจัดอุปกรณ์ป้องกันในทุกหน่วย • การประเมินการใช้งาน • การใช้ข้อมูลย้อนกลับ
ดัชนีชี้วัดและเป้าหมายการติดเชื้อดื้อยาดัชนีชี้วัดและเป้าหมายการติดเชื้อดื้อยา • ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2548 2549 2550 • การติดเชื้อดื้อยา ลดลง 15% • ESBL (k.pnuemonia) 7.42% 4.12% 6.67% • MDR (P.auruginosa) 1.83% 1.22% 1.74% • MRSA 1.22% 3.22% 1.21% ข้อมูลปี 2550 NI 29% CI 67% contaminate 5%
กลุ่มแบคทีเรียก่อโรคที่พบกลุ่มแบคทีเรียก่อโรคที่พบ
การจัดการเรื่องเชื้อดื้อยาการจัดการเรื่องเชื้อดื้อยา • ประสานด้านข้อมูลทุกทีม (แพทย์ เภสัช ชันสูตร พยาบาล) • การเฝ้าระวัง Lab Surveilance • กำหนดแนวทางในการดูแล และติดตามประเมิน • การให้ความรู้แก่บุคลากรในรูปของการอบรม การประชุมชี้แจงและการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ • สนับสนุนอุปกรณ์เครื่องมือ / สร้างห้องแยกโรค • สร้างระบบ การคัดกรอง และส่งต่อข้อมูล (กำลังดำเนินการ) • ประเมินผล และปรับปรุง
น้ำยาทำลายเชื้อ • แนวโน้มการใช้น้ำยาทำลายเชื้อ • ระดับน้ำยา low-High Level • ชนิด Hydergen peroxide • แนวโน้มการใช้ Disinfectant • ระดับ High Level • ชนิด Cidex Vergon Formalin
Diarrhea • จากสถิติผู้ป่วยในสูงสุด 3 ปี พบว่าผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาด้วยสาเหตุหลักคือโรค Diarrhea • อายุเฉลี่ยสูงสุดอยู่ในวัย15-44 ปี และเด็กก่อนวัยเรียน กิจกรรม • กลุ่มวัยเรียน/ก่อนวัยเรียน • กลุ่มวัยแรงงาน แผนต่อเนื่อง การทบทวนการวินิจฉัยโรค การให้ความรู้เฉพาะกลุ่ม
Sepsis เป็นสาเหตุการตายที่สำคัญ • กลุ่มงานอายุรกรรม Pnuemonia • กลุ่มงานกุมาร Cong. sepsis • อื่นๆ แผล • ผู้ป่วยจากชุมชน การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ
ปัญหาที่พบและความเสี่ยงปัญหาที่พบและความเสี่ยง • 1.อัตราการติดเชื้อที่เกิดในโรงพยาบาลที่พบบ่อย • High risk • High Volume • 2. การติดเชื้อดื้อยา • 3. การเกิดอุบัติเหตุเข็มทิ่มตำ • 4. Isolation Precaution/Universal Precaution • 5.การปฏิบัติตามคู่มือการป้องกัน และควบคุมฯ
จุดอ่อน • การนำนโยบายสู่การปฏิบัติ • อัตราการติดเชื้อที่เพิ่มสูงขึ้น • การขาดการนำองค์ความรู้ทางวิชาการมาใช้ในงาน • การประสานและการเชื่อมโยงข้อมูล • การนำความรู้สู่ประชาชน • ฯลฯ
แผนที่จะพัฒนาในปี 2551 • การลดและป้องกับการติดเชื้อที่สำคัญ • การป้องกันการเกิด Endopthalmitis • การป้องกันการติดเชื้อปอดอักเสบที่สัมพันธ์กับการใช้เครื่องช่วยหายใจ • การป้องกันการเกิดการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ • การเฝ้าระวัง และการดูแลผู้ป่วย Sepsis • การล้างมือในบุคลากรในโรงพยาบาล และประชาชน • ระบบการทำปราศจากเชื้อในชุมชน
Thank you for Your Attention