220 likes | 372 Views
ผลการดำเนินงานปี 2554. ภายใต้ผลผลิตเกษตรกรได้รับการส่งเสริม และพัฒนาศักยภาพ. โดย. รอธ. นายนิรันดร เอื้องตระกูลสุข. หน่วยงานรับผิดชอบ. สำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี (ส.พ.ท.). สำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมปศุสัตว์. งานที่รับผิดชอบมี 2 แผนงาน.
E N D
ผลการดำเนินงานปี 2554 ภายใต้ผลผลิตเกษตรกรได้รับการส่งเสริม และพัฒนาศักยภาพ โดย รอธ. นายนิรันดร เอื้องตระกูลสุข หน่วยงานรับผิดชอบ สำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี (ส.พ.ท.)
สำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมปศุสัตว์ งานที่รับผิดชอบมี 2 แผนงาน แผนงาน : ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจการเกษตร มี 2 ผลผลิต ผลผลิตที่ 1 : การพัฒนาการผลิตปศุสัตว์ ผลผลิตที่ 4 : เกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ แผนงาน : แก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ มี 1 โครงการ / 3 กิจกรรมหลัก
สำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมปศุสัตว์ แผนงาน : ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจการเกษตร ผลผลิตที่ 1 : การพัฒนาการผลิตปศุสัตว์ ประกอบด้วย กิจกรรมหลัก : การวิจัยและพัฒนาการปศุสัตว์ โครงการวิจัย จำนวน 12 เรื่อง งบประมาณ 4,017,500 บาท
สำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมปศุสัตว์ แผนงาน : ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจการเกษตร ผลผลิตที่ 4 : เกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ ประกอบด้วย 4 กิจกรรมหลัก / 17 กิจกรรมย่อย กิจกรรมที่ 1 : ถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านปศุสัตว์ กิจกรรมที่ 2 : คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ กิจกรรมที่ 3 : ศูนย์เครือข่ายเรียนรู้ด้านปศุสัตว์ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมที่ 4 : สนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตัวชี้วัด : จำนวนเกษตรกรที่ได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยี และบริการด้านปศุสัตว์
สำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมปศุสัตว์ แผนงาน : แก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ มี 1 โครงการ / 3 กิจกรรมหลัก กิจกรรมที่ 1 : ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการเลี้ยงสัตว์ปีก กิจกรรมที่ 2 : ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการเลี้ยงแพะ กิจกรรมที่ 3 : ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการเลี้ยงโคเนื้อ ตัวชี้วัด : จำนวนเกษตรกรที่ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ด้านการปศุสัตว์
สำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมปศุสัตว์ แนวทางการดำเนินงาน : สำหรับงานส่งเสริมทั่วไป พัฒนาความรู้ความสามารถเกษตรกร เสริมสร้างความเข้มแข็งกลุ่มเกษตรกร พัฒนาศักยภาพการผลิตของเกษตรกรรายย่อย สนับสนุนการผลิตทางการค้าสู่มาตรฐาน พัฒนางานวิจัยเพื่อสนับสนุนเกษตรกรและเจ้าหน้าที่ สร้างเครือข่ายการผลิตการตลาด ปรับระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน
สำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมปศุสัตว์ แนวทางการดำเนินงาน : สำหรับงานส่งเสริมใน จว.ชายแดนภาคใต้ กำหนดรูปแบบการส่งเสริมให้สอดคล้องกับศักยภาพ ศาสนา วัฒนธรรมและประเพณีของเกษตรกร พัฒนาความรู้เกษตรกรอย่างต่อเนื่อง อุดหนุนปัจจัยการผลิตเพื่อปรับมาตรฐานการเลี้ยงสัตว์ ติดตามให้บริการสนับสนุนการเลี้ยงสัตว์ เสริมสร้างความมั่นคงยั่งยืนในอาชีพการเลี้ยงสัตว์
สำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมปศุสัตว์ ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด การดำเนินการศึกษาวิจัย : ตามแผนงานการพัฒนาการเลี้ยงปศุสัตว์ (ผลผลิตที่ 1) ปัญหาที่พบ นวก.ในระดับจังหวัดและ สสอ. ไม่ให้ความสนใจในการจัดทำโครงการวิจัย นักวิจัยยังขาดทักษะและประสบการณ์ในการทำการวิจัยด้านการส่งเสริม โครงการวิจัยไม่เป็นชุดโครงการที่บูรณาการหน่วยงานทำให้ผลจากงานวิจัย ไม่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในงานส่งเสริมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมปศุสัตว์ ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด การถ่ายทอดความรู้และให้บริการแก่เกษตรกร : ตามแผนงาน ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจการเกษตร (ผลผลิตที่ 4)
สำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมปศุสัตว์ ปัญหาที่พบ ผู้ปฏิบัติงานในระดับอำเภอยังให้ความสำคัญกับงานด้านการส่งเสริมน้อย โดยเฉพาะงานพัฒนาศักยภาพและความเข้มแข็งแก่กลุ่มเกษตรกร การถ่ายทอดความรู้แก่เกษตรกรขาดการมีส่วนร่วม เป็นเหตุให้การถ่ายทอด ไม่สามารถแก้ไขปัญหาของเกษตรกรได้อย่างมีประสิทธิภาพ หน่วยงานสนับสนุนในพื้นที่ยังไม่มีการปฏิบัติงานในลักษณะบูรณาการ สู่เป้าหมายเกษตรกรที่จังหวัดกำหนด ทำให้การส่งเสริมไม่ประสบผลสำเร็จ จนท.ผู้ปฏิบัติงาน ขาดความรู้ ทักษะและประสบการณ์ในการทำงาน โดยเฉพาะองค์ความรู้ที่เหมาะสมสำหรับเกษตรกรรายย่อย รวมทั้ง เครื่องมือ อุปกรณ์และงบประมาณในงานส่งเสริมไม่เพียงพอ การประสานความร่วมมือกับหน่วยงานท้องถิ่นยังไม่มากพอ
สำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมปศุสัตว์ ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด การส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเลี้ยงสัตว์แก่เกษตรกร : แผนงานแก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้
สำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมปศุสัตว์ ปัญหาที่พบ สถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ทำให้ ประสิทธิภาพการทำงานลดลง เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการเกิดจากผลของ การประชาคม โดยหน่วยงานไม่ได้คัดเลือกเอง ทำให้ขาดความสนใจในการดำเนินงาน ตามขั้นตอนที่กำหนดไว้ บุคลากรผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ไม่เพียงพอ เมื่อเปรียบเทียบกับเป้าหมายที่ได้รับ
สำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมปศุสัตว์ การขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์การพัฒนาปศุสัตว์แบบมีส่วนร่วมสำหรับเกษตรกรรายย่อย กรมฯ อนุมัติใช้แนวทางการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เกษตรกรรายย่อย เมื่อวันที่ ๒๗ เม.ย. ๕๔ มีสาระที่สำคัญ คือ เป้าหมายในการพัฒนาต้องชัดเจน 1 จังหวัด 3 ชนิดปศุสัตว์ยุทธศาสตร์ (อย่างน้อย) 1 อำเภอ 1 กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ (อย่างน้อย) กลุ่มเกษตรกรต้องเริ่มคิดเป็น วางแผนเป็น เพื่อการพึ่งตนเอง 1 กลุ่ม 1 แผน 1 โครงการพัฒนาตนเอง
สำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมปศุสัตว์ พัฒนางานวิจัยเพื่อหาเทคโนโลยีที่เหมาะสมตามภูมิสังคม ที่หลากหลายของเกษตรกร 1 กลุ่ม 1 แผน 1 โครงการพัฒนาตนเอง การถ่ายทอดความรู้ต้องสอดคล้องกับปัญหาและความต้องการ ของเกษตรกร โดยมีเกษตรกรคนเก่งเป็นตัวอย่าง 1 กลุ่ม 1 แหล่งเรียนรู้ (เกษตรกรคนเก่ง) ทุกหน่วยต้องบูรณาการเพื่อสนับสนุนแผนงาน-โครงการ ของเกษตรกรสู่ความสำเร็จ พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อเผยแพร่ข้อมูลกลุ่ม แหล่งเรียนรู้ และข้อมูลการผลิตในลักษณะสื่อสาร 2 ทาง 1 กลุ่ม 1 ผลสำเร็จจากแผน-โครงการพัฒนาตนเอง
สำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมปศุสัตว์ ผลการดำเนินงานขับเคลื่อน ทุกจังหวัดกำหนดชนิดปศุสัตว์ยุทธศาสตร์ประจำจังหวัด มีกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ขึ้นทะเบียนกับกรมปศุสัตว์ (ส.พ.ท.) ภายใต้เป้าหมาย 1 อำเภอ 1 กลุ่ม จำนวน 862 กลุ่ม (เป็นอย่างน้อย) มีเกษตรกรคนเก่งที่ทำหน้าที่เป็นแหล่งเรียนรู้ระดับอำเภอ จำนวน 862 ฟาร์ม (เป็นอย่างน้อย) และมีศูนย์เรียนรู้ระดับ จว. อย่างน้อย 76 ศูนย์ ทุกกลุ่มเกษตรกรมีโครงการพัฒนาการเลี้ยงสัตว์เพื่อร่วมกัน ดำเนินการ 1 โครงการ กรมฯ กำหนดให้ 1 อำเภอ 1 กลุ่มเกษตรกร และ 1 เกษตรกร 1 แหล่งเรียนรู้ เป็นตัวชี้วัดผลงานของจังหวัด (รอบที่ 2)
สำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมปศุสัตว์ คู่มือปฏิบัติงาน
ความมั่นคงทางการเมืองความมั่นคงทางการเมือง ความมั่นคงทางทหาร ความมั่นคงทางพลังงาน ความมั่นคงของชาติ ส่งเสริมการผลิตพืชพลังงาน ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ความมั่นคงทางสังคม ความมั่นคงทางอาหาร จัดทำยุทธศาสตร์สินค้าหลักเป็นรายสินค้า ผลิตอาหารอย่างเพียงพอกับ ความต้องการบริโภคภายในประเทศ(Availability) จัดทำทะเบียนเกษตรกร จัดให้มีระบบประกันความเสี่ยง จัดทำยุทธศาสตร์อาหารปลอดภัย (Food Safety) สนับสนุนให้ประชากรทุกระดับ เข้าถึงอาหารอย่างเพียงพอ(Accessibility) สร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ การวิจัยและพัฒนา (R&D) สร้างและพัฒนาเกษตรกรอาสาสมัครหมู่บ้าน (อกม.) ส่งเสริมการผลิตอาหารคุณภาพดีลดการสูญเสีย และใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม (Utilization) กำหนดเขตส่งเสริมการผลิต (Zoning) ส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนาองค์กรเกษตรกร พัฒนาแหล่งน้ำและระบบชลประทาน รักษาเสถียรภาพการผลิตอาหาร (Stability) ฟื้นฟูอนุรักษ์ดินและน้ำ จัดให้มีระบบสวัสดิการชาวนา กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 19
การพัฒนาของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติการพัฒนาของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1 1 แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1 - 7 เน้นการใช้แรงงานและทรัพยากรธรรมชาติ ใช้ทุนมนุษย์ + เทคโนโลยีและนวัตกรรม + ความปรองดอง การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ขาดสมดุล เน้นย้ำเศรษฐกิจพอเพียง ความสมดุลและยั่งยืน แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 - 10 เน้นการพัฒนาทุนมนุษย์ (Human Capital) มุ่งสู่เศรษฐกิจพอเพียง(Sufficiency Economy)
สวัสดี 21