1 / 56

การบริหารกองทุนกรณีผู้ป่วยใน อุบัติเหตุ / ฉุกเฉิน และค่าใช้จ่ายสูง ปีงบประมาณ 2557

การบริหารกองทุนกรณีผู้ป่วยใน อุบัติเหตุ / ฉุกเฉิน และค่าใช้จ่ายสูง ปีงบประมาณ 2557. 2. หลักเกณฑ์การจ่ายค่าใช้จ่ายที่เปลี่ยนแปลงจากปี 56. กรณีผู้ป่วยใน. เกณฑ์คุณภาพบริการ ปี 2557. ขออนุมัติ อปสข . ในวันที่ 7 พย .56. การประเมินตามเกณฑ์คุณภาพบริการ ปี 2557.

Download Presentation

การบริหารกองทุนกรณีผู้ป่วยใน อุบัติเหตุ / ฉุกเฉิน และค่าใช้จ่ายสูง ปีงบประมาณ 2557

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารกองทุนกรณีผู้ป่วยใน อุบัติเหตุ/ฉุกเฉิน และค่าใช้จ่ายสูง ปีงบประมาณ 2557

  2. 2. หลักเกณฑ์การจ่ายค่าใช้จ่ายที่เปลี่ยนแปลงจากปี 56

  3. กรณีผู้ป่วยใน

  4. เกณฑ์คุณภาพบริการ ปี 2557 ขออนุมัติ อปสข.ในวันที่ 7 พย.56

  5. การประเมินตามเกณฑ์คุณภาพบริการ ปี 2557

  6. การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2557งบกองทุนโรคไตวาย

  7. หลักการในการออกแบบ • ไม่แตกต่างจากปีก่อน • งบค่าบริการ มีหลายลักษณะ ตามลักษณะของการบริการ เช่นเหมาจ่ายตามกิจกรรม เหมาจ่ายตามความสำเร็จ จ่ายชดเชยเป็นยาหรือวัสดุ จ่ายผู้ป่วยโดยตรง เหมาจ่ายค่าภาระงาน หรือการให้มีการร่วมจ่าย เป็นต้น • งบพัฒนาระบบเน้นการพัฒนาเพื่อให้มีระบบบริการที่เพียงพอและมีคุณภาพที่จะรองรับผู้ป่วย ESRD (ตามนโยบาย CAPD First) ก่อนจะได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนไต ควบคู่กับการควบคู่กับการป้องกัน ESRD และ Palliative careโดยการมีส่วนร่วมของภาคีที่เกี่ยวข้อง *** มีการปรับแนวทางการจ่ายค่าตอบแทนแบบเหมาจ่ายและตามภาระงาน) ***

  8. ทิศทาง RRT-UC ปี 56-60 • ยังคงนโยบาย PD First โดยใช้มาตรการทางการเงินสนับสนุน และเพิ่มความเป็นเอกภาพของ 3 กองทุนมากขึ้น • เพิ่มคุณภาพ และขยาย PD สู่ รพ.ชุมชน ที่มีศักยภาพด้านบริการปฐมภูมิ และระบบสุขภาพชุมชนเข้มแข็ง โดยให้เป็นเครือข่ายกับ รพ.ตติยภูมิ • ให้ความสำคัญและสนับสนุน HD มากขึ้น เน้นควบคุมคุณภาพ มาตรฐาน แบ่งการให้บริการ ผู้ป่วยและชดเชยออกเป็น 2 กลุ่มตามอายุและความซับซ้อน • เพิ่มการลงทุนพัฒนาระบบรับบริจาคและปลูกถ่ายอวัยวะ ให้มี Output 500-1,000 รายต่อปี • ขยาย Program DM/HT Control สู่ระยะที่สอง และ CKD Prevention เต็มพื้นที่

  9. การสนับสนุนค่าใช้จ่ายการให้บริการCAPDการสนับสนุนค่าใช้จ่ายการให้บริการCAPD • 1.ค่าตอบแทนแบบเหมาจ่าย ในการดูแลผู้ป่วย CAPD ตามแนวทางเวชปฏิบัติ (ตามประกาศฯ) -ผู้ป่วยนอก เช่น ประเมินสภาพร่างกาย ค่ายาพื้นฐาน และอื่นๆที่จำเป็นสำหรับ CAPD อัตรา 2,500 บาท /ราย/เดือน -ผู้ป่วยใน เช่น การวางสาย การนำสายออก รักษาภาวะแทรกซ้อน จ่ายตามระบบ DRGs ในอัตราคงที่ 1AdjRW ต่อ 8,000 บาท (ไม่หักเงินเดือน)

  10. การจ่ายค่าภาระงาน CAPD 2. ภาระงาน ยังมีความจำเป็นต่อการผลักดันนโยบาย PD First Policy อัตราจ่าย - แพทย์วางสาย 2000 / ราย >> จ่ายเหมือนเดิม • ภาระงาน CAPD 2000/ราย/เดือน >> ปรับใหม่ โดยแบ่งเป็น 2 ส่วน ๆละ 1,000 บาท - บุคลากรหลักที่ดูแลผู้ป่วย CAPD ในหน่วยบริการ เช่นแพทย์ พยาบาล ฯ โอนให้หน่วยบริการ - บุคลากรที่ร่วมสนับสนุนการดูแล เช่น จนท. รพช. รพ.สต. ที่ประเมินสภาพบ้านดูแลต่อเนื่องและติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วย โอนผ่าน สสจ. (อนุมัติโดยคณะกรรมการไตจังหวัด)

  11. ผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจ & ปลูกถ่ายตับในเด็ก

  12. การจ่ายค่าบริการ เหมือนปี 2556 - ค่าใช้จ่ายในการให้บริการผ่าตัด • จะจ่ายชดเชยให้แก่หน่วยบริการตั้งแต่ขั้นตอนการจัดเตรียม การผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจ และการดูแลหลังผ่าตัด • เป็นไปตามแบบแผนการรักษา ( Protocol ) ของสมาคมปลูกถ่ายอวัยวะแห่งประเทศไทยเสนอ • ค่าใช้จ่ายหลังการผ่าตัด • ค่ายากดภูมิคุ้มกัน

  13. การบริหารจัดการเพื่อนำนิ่วออกจากทางเดินปัสสาวะการบริหารจัดการเพื่อนำนิ่วออกจากทางเดินปัสสาวะ

  14. หลักการบริหารจัดการ ส่วนที่แตกต่างจากปี 56 - ยกเลิกค่าภาระงาน - Class I ผ่าตัด และ Class II ส่องกล้อง จ่ายแบบ DRG with Global budget รายเขต - Class III สลายนิ่ว • รพ.รัฐ จ่ายตามราคาที่กำหนด /ครั้ง บริการ • รพ.เอกชน จ่ายแบบเหมาความสำเร็จ โดย -ใช้ CPG ของสมาคมศัลยแพทย์ระบบปัสสาวะฯ - มีระบบ ตรวจความสำเร็จก่อนจ่าย

  15. cataract • เป้าหมาย Senile Cataract120,000 ราย • เพิ่มอัตราการผ่าตัดในผู้ป่วย Blinding cataract • ไม่น้อยกว่า 20% ของการผ่าตัดทั้งหมด • เพิ่มการเข้าถึงบริการผ่าตัดในพื้นที่ขาดแคลนบริการ (Remote area) โดย กำหนดเป้าหมายผ่าตัดเพิ่ม • ในพื้นที่ที่มีอัตราการเข้าถึง< 1000 ครั้ง/แสนปชก.

  16. การบริหารงบและหลักเกณฑ์การจ่ายเงินCataractการบริหารงบและหลักเกณฑ์การจ่ายเงินCataract • เบิกจ่ายจากกองทุน Central Reimbursement • หลักเกณฑ์จ่าย Fixed rate แบ่งจ่ายเป็น 2 ส่วนคือ ค่าผ่าตัด • Non-complication • ชดเชยข้างละ 7,000 บาท • Complicationและcomorbidityชดเชยข้างละ 9,000 บาท ค่าเลนส์ • Foldable Lens • ชดเชยข้างละ 2,800 บาท • Non- Foldable Lens • ชดเชยข้างละ 700 บาท • (ชดเชยเฉพาะเลนส์ที่สปสช.ประกาศ)

  17. ชี้แจงบริหารกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2557งบดูแลผู้ป่วยรายบริการ/โรค

  18. รายการงบบริการรายโรค

  19. รายละเอียดการจัดสรร

  20. รายละเอียดการจัดสรร

  21. รายละเอียดการจัดสรร ชดเชยกรณี HMAIN=HCODE เท่านั้น ยกเว้น spirometry

  22. รายละเอียดการจัดสรร

  23. รายละเอียดการจัดสรร

  24. รายละเอียดการจัดสรร

  25. รายละเอียดการจัดสรร

  26. รายละเอียดการดำเนินงานรายละเอียดการดำเนินงาน

  27. รายละเอียดการดำเนินงานรายละเอียดการดำเนินงาน

  28. สิทธิประโยชน์ด้านยา ปี 2557

  29. ความแตกต่างของสิทธิประโยชน์ด้านยา ปี 2556 และ ปี 2557 • ยาบัญชี จ2 • Clopidogrel • ยากำพร้า • วัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ตามแผนการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข

  30. ความแตกต่างของแนวทางการบริหารจัดการปี56และ ปี 57

  31. ความแตกต่างของแนวทางการบริหารจัดการปี56และ ปี 57

  32. ความแตกต่างของแนวทางการบริหารจัดการปี 56และ ปี 57

  33. ความแตกต่างของแนวทางการบริหารจัดการปี 56และ ปี 57

  34. ความแตกต่างของแนวทางการบริหารจัดการปี 55และ ปี 56

  35. ความแตกต่างของแนวทางการบริหารจัดการปี 56และ ปี 57

  36. เป้าหมาย ดูรายละเอียดได้จาก แนวทางการบริหารงบบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวี / เอดส์ปี 2557 • Zero new HIV infection • Zero HIV related death • Zero discrimination

  37. โครงสร้างงบบริการสุขภาพผู้ติดเชื้อเอชไอวีปี572,946.997 ลบ. งบค่าบริการ 2,874,497,000 บาท งบสนับสนุนระบบ 72,500,000 บาท พัฒนาบุคลากร พัฒนาคุณภาพบริการ กำกับติดตามประเมินผล พัฒนาการเข้าถึง VCT ในกลุ่มเสี่ยง EQA, LA • ค่ายา • ยาต้านไวรัสสูตรพื้นฐาน, ดื้อยา • ยาลดไขมัน • ค่า LAB • CD4, VL, DR, PCR • วัสดุ + ขนส่ง • บริการปรึกษาและตรวจเลือด (VCT) • ค่าตรวจ anti-HIV • สนับสนุนการให้บริการ (ปรึกษา, จ่ายยาต้าน) • สนับสนุนอาสาสมัครผู้ติดเชื้อ (ศูนย์องค์รวม) • ถุงยางอนามัย (ผ่าน VMI) แนวคิด เหมือนปี56 เดิม เปลี่ยนวิธีจ่ายนิดหน่อย

  38. การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ - ชดเชยบริการ 1 2 3 4

  39. ยา ARV ที่ควบคุมการเบิกจ่ายจากโปรแกรม NAP เริ่ม 1ตค.56 1 • TDF (300 mg) • EFV (50 mg) • EFV (200 mg) • EFV (600 mg) • LPV/r (200/50 mg) • LPV/r (200/50 mg) • LPV oral solution • ATV (200 mg) • ATV (300 mg) • DRV (300 mg) • IDV (200 mg) • RTV (80 mg) sol • RTV (100 mg) =ยา PI ทุกตัว =ยา CL ทุกตัว +TDF

  40. 2 เกณฑ์การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการปี 57 ปรับตาม CPGกรมคร.ให้เหมือนกันทุกสิทธิ์

  41. มีผลต่อหน่วยตรวจ VL รพ.หาดใหญ่ สคร.12 หน่วยส่งตรวจ การปรับระบบชดเชย VL ปี 57 3 ระบบใหม่ปี 57 จ่ายเป็นเงินเหมือนตัวอื่นๆ ระบบเดิมปี 56 จ่ายเป็น ของ + เงิน ชดเชย 1,350 บาท ต่อรายงานผล ชดเชยเป็นน้ำยา + 250 บาทต่อรายงานผล • ราคาต้นทุนน้ำยา VL • 910 /test • 990 /test Report จาก lab Report จาก lab สปสช ต่อรองราคา หน่วยบริการจัดซื้อเอง (Central negotiation) สปสช จัดซื้อรวมน้ำยา VL Central procurement รายละเอียดการชดเชย LAB อื่นๆดูคู่มือเล่ม 2 บทที่ 9 หน้า 59-60

  42. การชดเชยการตรวจทางห้องปฏิบัติการการชดเชยการตรวจทางห้องปฏิบัติการ

  43. การชดเชยบริการปรึกษาและตรวจการติดเชื้อเอชไอวีการชดเชยบริการปรึกษาและตรวจการติดเชื้อเอชไอวี

  44. การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ - สนับสนุนระบบ 5 6

  45. กรอบการบริหารงบบริการผู้ป่วยวัณโรค ปี2557 เป้าหมาย UC : 51,180 ราย เขต12 =4,000 ราย -สูตรพื้นฐานทุกหน่วยบริการเบิกใช้ได้ -สูตรดื้อยาเบิกได้เฉพาะMDR-TB Center หน่วยบริการทั่วไปไม่สามารถเบิกได้ ยกเว้น Streptomycin และ Olfloxacinในกรณีผป.แพ้ยา 1st line เท่านั้น งบผู้ป่วยวัณโรค 278.94 ลบ. ชันสูตรพื้นฐาน/ดื้อยา 30.96 ลบ กำกับการรักษา 38.69 ลบ. ค้นหาผู้ป่วย 14 ลบ บันทึกข้อมูล 3.08 ลบ. ยา (VMI) 192.21 ลบ หมายเหตุ : ปี 57 ไม่มีงบสนับสนุนการจัดบริการวัณโรคสำหรับสาขาจังหวัด 71

  46. ยาต้านวัณโรค ผ่านVMI เหมือนเดิม สูตรพื้นฐาน (1st line) - เบิกได้ทุกแห่ง สูตรดื้อยา (2nd line) - เบิกได้เฉพาะ MDR-TB center (รพ.สงขลา รพ.หาดใหญ่ รพ.สตูล รพ.ตรัง รพ.พัทลุง รพ.ปัตตานี รพ.ยะลา รพ.นราธิวาส รพ.สุไหงโก-ลก รพ.เบตง) รพช.สามารถขอเป็นMDR-TB center ได้ โดยส่งนส.ที่สปสช.เขต LAB AFB 20 บาทต่อตัวอย่างตรวจ CXR 100 บาทต่อครั้ง(รายงานผล) Sputum Culture Drug sensitivity testing (DST) ภาระงานบันทึกข้อมูล 10บาทต่อ visit หมายเหตุ 1. อภ.จัดส่งยาตามข้อมูลที่หน่วยบริการบันทึกในระบบสารสนเทศวัณโรค 2. จ่ายชดเชย LAB ให้กับหน่วยตรวจชันสูตร ตามผลงานที่บันทึกในระบบฯ 3. จ่ายชดเชยภาระงานให้กับหน่วยบริการ ตามผลงานที่บันทึกในระบบฯ การชดเชยค่าบริการ (Initial Payment) ส่งข้อมูล TB DATAHUB

  47. เกณฑ์การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการเชื้อวัณโรคดื้อยาเกณฑ์การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการเชื้อวัณโรคดื้อยา • กรณีตรวจเพื่อการวินิจฉัยเชื้อวัณโรคดื้อยา • 1.1 ผู้ป่วยมีสิทธิรับบริการตรวจเชื้อวัณโรคดื้อยา เมื่อมีเงื่อนไขครบทั้ง 2 ข้อ (ก และ ข) ก. เป็นผู้ป่วยวัณโรคในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ตามเงื่อนไขผู้มีสิทธิขอรับบริการและลงทะเบียนในฐานข้อมูลผู้ป่วยวัณโรค สปสช. ข. เป็นผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ต่อไปนี้ • Re-treatment : ได้แก่กลุ่มผู้ป่วยวัณโรคที่กลับเป็นซ้ำ (Relapse) หรือขาดยามากกว่า 2 เดือนแล้วกลับมารักษา (Treatment After Default) • On-treatment : ได้แก่กลุ่มผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เสมหะบวก ที่มีผลการตรวจเสมหะยังคงเป็นบวกหลังการรักษา 3 เดือน (Treatment Failure) • Pre-treatment : ได้แก่ผู้ป่วยที่มีประวัติสัมผัสกับผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาร่วมบ้าน (Household MDR-TB contact), ผู้ป่วยวัณโรคในเรือนจำ, ผู้ป่วย TB-HIV

  48. งบประมาณเขต 57 • แนวทางจัดสรร ปี 2557 • เน้นการจัดสรรตามปริมาณงาน+ ผลลัพธ์ตามตัวชี้วัด • ผลลัพธ์การดำเนินงานในปี 2556 จะมีผลต่อการจัดสรร • ใช้ข้อมูลผป. ขึ้นทะเบียนไตรมาส4 ปี 56 – 1-3 ปี 57 ในการจัดสรรเงิน DOTs

  49. ความแตกต่างจากปี 56 76

  50. รายการยาต้านวัณโรคที่ไม่สามารถปรับปริมาณการเบิกได้ โดยหน่วยบริการจะสามารถเบิกได้ตามปริมาณจำนวนจ่ายที่บันทึกอิงระบบฐานข้อมูล TB Data Hub เริ่ม 1 เมษายน 2557

More Related