280 likes | 418 Views
งบจ่ายเพิ่มเติม ตามเกณฑ์คุณภาพ ผลงานบริการ ปี 2554. E-Meeting วันที่ ๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔. วัตถุประสงค์และแนวคิดหลัก. 1 . สร้างแรงจูงใจ ให้หน่วยบริการจัดบริการที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามที่กำหนดอย่างต่อเนื่อง ด้วยกลไกทางการเงินตามผลงานคุณภาพ ( Quality outcome performance payment )
E N D
งบจ่ายเพิ่มเติม ตามเกณฑ์คุณภาพ ผลงานบริการปี 2554 E-Meeting วันที่ ๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔
วัตถุประสงค์และแนวคิดหลักวัตถุประสงค์และแนวคิดหลัก 1. สร้างแรงจูงใจให้หน่วยบริการจัดบริการที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามที่กำหนดอย่างต่อเนื่อง ด้วยกลไกทางการเงินตามผลงานคุณภาพ (Quality outcome performance payment ) 2. สนับสนุนการพัฒนาระบบบริการให้มีคุณภาพ
สาระสำคัญของปี 2554 • วงเงิน 20 บาท ต่อปชก. • มีเฉพาะเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการของหน่วยรับส่งต่อ โดยใช้เกณฑ์เดิมต่อเนื่อง • แยกการจ่ายตามเกณฑ์ผลงานคุณภาพของหน่วยบริการประจำ/ปฐมภูมิ ไปกับการจ่ายค่าบริการต่างๆ
แนวทางการบริหารงบจ่ายเพิ่มเติมตามเกณฑ์แนวทางการบริหารงบจ่ายเพิ่มเติมตามเกณฑ์ คุณภาพผลงานบริการ ปี 2554 วงเงินรวม 959ล้านบาท 20 บาท ต่อ ปชก.47.996 ล้านคน วงเงินรายเขตพื้นที่91,474,911.00บาท ปชก.UC x 20 บ. จัดสรรตามเกณฑ์คุณภาพ ผลงานระดับผลลัพธ์ =73,664,911.00 บาท (ปชก.UC รายเขตx 17 บาท) จัดสรรตามเกณฑ์คุณภาพระดับกิจกรรมพัฒนาบริการ =17,810,000 บาท (ปชก.UC รายเขต x 3 บาท) • On top บาท/ปชก. • ตามผลคะแนนคุณภาพ X ปชก.ลงทะเบียน • On top บาท/กิจกรรม • เกณฑ์ส่วนกลาง 6 ข้อ +เกณฑ์ระดับเขตมี 1 ข้อ คิดผลงาน 12เดือน (เมย.52- มีค.53)
ตัวชี้วัดและน้ำหนักรายเกณฑ์ ปี 2554
กระบวนการประเมินคุณภาพ ของตัวชี้วัด เกณฑ์คุณภาพผลงาน…ระดับผลลัพธ์
เกณฑ์ที่ ๑ สถานะการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล OJT มิติคุณภาพ เกณฑ์
ตาราง 4การให้คะแนนเกณฑ์สถานะการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ตามคู่มือหน้า 8 ตัวหนังสือสีแดง คือขอแก้ไข
เกณฑ์ที่ ๒ ๓๑ มีนาคม ๕๔ คุณภาพระบบยา OJT มิติคุณภาพ เกณฑ์
เกณฑ์ที่ ๒ แนวทางการประเมิน แบ่งออกเป็น 4 ส่วนหลัก 1.เกณฑ์การประเมินระบบการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านยา ประกอบด้วย 1.1 การประเมินเชิงระบบ(0-5) 1.2การประเมินผลการรายงานเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา(AE)....(1-5) • เกณฑ์การดำเนินงานด้านยาที่ต้องระมัดระวังสูง • (High alert drug)….(1-5) 3. เกณฑ์การดำเนินงานด้านการกำกับประเมินและตรวจสอบการใช้ยา(DUE,DUR).... (1-5) 4.เกณฑ์การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุสมผล.... (1-5)
เกณฑ์ที่ ๒ วิธีการ • หน่วยบริการทบทวนตนเองตามแบบทบทวนคุณภาพการใช้ยาใน • โรงพยาบาล ใน 4 เรื่อง คือ ข้อ 1 ข้อย่อย 1.1 และข้อ 2-4 • หน่วยบริการรายงานเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาที่พบ ต่อ • ศูนย์เฝ้าระวังความปลอดภัยด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ(HPVC) สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา และศูนย์เฝ้าระวังฯ จะทำหน้าที่ประเมินผลรายงานที่ได้รับตามเกณฑ์ที่กำหนด 3. นำคะแนนที่ได้ทั้งหมดมารวมกัน เป็นคะแนนเต็ม 25 คะแนน จากนั้นปรับ ให้เป็นคะแนนตามสัดส่วนคะแนนเต็มตามที่กำหนดไว้ในแต่ละเขต โดยมีข้อ แม้ว่าหากมีเกณฑ์ในข้อใดข้อหนึ่งเป็นศูนย์ ให้ถือว่า เกณฑ์ด้านคุณภาพการใช้ ยา ได้คะแนนเป็นศูนย์
เกณฑ์ที่ ๒ การให้คะแนน
สรุปเกณฑ์คุณภาพระบบยาสรุปเกณฑ์คุณภาพระบบยา • คงเดิม • การประเมินตนเองของหน่วยบริการ และรายงานADR • แบบประเมินใช้ของเดิม • เปลี่ยนแปลง • ทำความเข้าใจหน่วยบริการเพิ่มขึ้น “ประเมินเพื่อให้เกิดระบบการใช้ยาที่มีความปลอดภัย” อย่าเอาเงินเป็นตัวตั้ง • มีวิธีจัดการในการตรวจทานผลการประเมิน....คทง.เภสัชระดับเขต
เกณฑ์ที่ ๓ ร้อยละความสมบูรณ์ของการบันทึกเวชระเบียน OJT มิติคุณภาพ เกณฑ์
สรุปเกณฑ์ MRA บันทึกเวชระเบียนครบถ้วน มีการทบทวนอย่างสม่ำเสมอ และใช้ประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพบริการ • คงเดิม • การประเมินตนเองของหน่วยบริการ • เกณฑ์การให้คะแนนคุณภาพ ( 0-5 ) เท่าปี 53 • เปลี่ยนแปลง • สุ่มตัวอย่างแฟ้มที่ใช้ประเมิน โดย สปสช. (เดิมหน่วยบริการสุ่มเอง) จำนวน 40 แฟ้ม • เพิ่มการใช้ผลตรวจ MRA โดย external auditor จัดการโดยเขต ร่วมกับ สตช. • วิธีการคิดผล %MRA โดยใช้คะแนนของทั้ง 2 วิธี ในสัดส่วน 60 : 40
แนวทางปฏิบัติ สปสช.ประสานหน่วยบริการ ส่งแฟ้มตามรายการ External Audit โดย ทีมAuditer สปสช.เขต ๘ ส่งแฟ้มกลับหน่วยบริการ Nuntana.s@nhso.go.th และ sineenus.s@nhso.go.th หน่วยบริการดำเนินการ Internal Audit แฟ้มที่ได้รับกลับ ส่งProgramให้ สปสช. เขต บันทึกผลใน Program MRA
เกณฑ์ที่ ๓ เกณฑ์การให้คะแนน MRA
เกณฑ์ที่ ๔ การรายงาน Quality Surveillance Indicators OJT มิติคุณภาพ เกณฑ์
เกณฑ์ที่ ๔ การคิดคะแนน ร้อยละคะแนนที่ได้ของหน่วยบริการ = (คะแนนครั้งที่ ๑ + คะแนนครั้งที่ ๒) x ๑๐๐ ๒๐
เกณฑ์ที่ ๔ การรายงาน QSI • ข้อมูลเดือน เมย.๕๓ – กย.๕๓ ระยะเวลารายงาน ภายใน ๓๐ พย.๕๓ ข้อมูลเดือน ตค. ๕๓– มีค.๕๔ ระยะเวลารายงาน ภายใน ๓๑ พค.๕๔ • รายงานผ่าน http//:udonthani.nhso.go.th/QSI • โรงพยาบาล(CUP)รับผิดชอบ ข้อมูลPCU.ทั้งหมดในการดูแล รายงานเป็นข้อมูลภาพรวมทั้งCUP**** แยกการบันทึกรายงาน PCU. ๕ ข้อ ,CUP๘ ข้อ ๔. ไม่ต้องใช้ USER NAME/PASSWORD
สรุปเกณฑ์รายงานการเฝ้าระวังคุณภาพสรุปเกณฑ์รายงานการเฝ้าระวังคุณภาพ • คงเดิม • การรายงานคงเดิม • เปลี่ยนแปลง • นำข้อมูลที่ได้วิเคราะห์เผยแพร่ในพื้นที่ เพื่อใช้ประโยชน์ในการพัฒนา
เกณฑ์ที่ ๕ ผู้ป่วย stroke ได้รับบริการกายภาพบำบัดเพื่อฟื้นฟูสภาพ ในโรงพยาบาล OJT มิติคุณภาพ สูตร ฐานIP๑ เมย.๕๓- ๓๑ มีค.๕๔
สรุปเกณฑ์ผู้ป่วย stroke ที่ได้รับ PT • คงเดิม • สูตรการคำนวณ และวิธีการจัดการข้อมูล • เปลี่ยนแปลง • เกณฑ์การให้คะแนนคุณภาพ ( 0-5 ) ใช้ตารางที่กำหนดระดับประเทศ
เกณฑ์ที่ ๖ ผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันชนิด ST elevated (STEMI) ที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด OJT มิติคุณภาพ สูตร ฐานIP๑ เมย.๕๓- ๓๑ มีค.๕๔
สรุปเกณฑ์ STEMI ที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด • เปลี่ยนแปลง • ตัวชี้วัด และวิธีการวัด จากการวัดจำนวนหน่วยบริการที่สามารถให้ยา เป็นการวัดจำนวนผู้ป่วยที่ได้รับยา • วัดอัตราระดับจังหวัด (ยกเว้น กทม) เดิมระดับเขต • เกณฑ์การให้คะแนนคุณภาพ ( 0-5 ) ใช้ตารางที่กำหนดระดับประเทศ
เกณฑ์ที่ ๗ โรงพยาบาลสายใยรัก ข้อมูลจากการรวบรวมส่งของ สสจ. เข้าร่วมโครงการ 1 คะแนน ระดับทองแดง 2 คะแนน ระดับเงิน 3 คะแนน ระดับทอง 5 คะแนน
กระบวนการประเมินคุณภาพ ของตัวชี้วัด เกณฑ์คุณภาพผลงาน…ระดับผลลัพธ์
รายละเอียด สามารถ Downloadได้ที่ http//:udonthani.nhso.go.th/ Downloadไฟล์/เอกสาร ชื่อ “คู่มืองบคุณภาพ๒๕๕๔:เกณฑ์คุณภาพ,กิจกรรมคุณภาพ” หรือติดต่อ สินีนุศ สันติรักษ์พงษ์ ๐๘๑-๙๖๕๕๔๙๓ Sineenus.s@nhso.go.th